ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนบุญวัฒนา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ratthatn (คุย | ส่วนร่วม)
ก้องแว่นแก้ว2004 (คุย | ส่วนร่วม)
พระอิสริยยศพระบรมวงศ์ศานุวงศ์ที่ระบุภายในประวัติของโรงเรียน
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
| code = 11300103
| code = 11300103
| establish_date = [[3 มกราคม]] [[พ.ศ. 2516]]
| establish_date = [[3 มกราคม]] [[พ.ศ. 2516]]
| founder = [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]
| founder = [[พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]]
| type = [[โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ]]
| type = [[โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ]]
| group = [[สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน]]
| group = [[สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน]]
บรรทัด 28: บรรทัด 28:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:ในหลวงเสด็จมาโรงเรียนบุญวัฒนา.jpeg|thumbnail|left|'' 'พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช''' และ'''สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ''' เสด็จในงานเปิดอาคารเรียนหลังที่ 1]]
[[ไฟล์:ในหลวงเสด็จมาโรงเรียนบุญวัฒนา.jpeg|thumbnail|left|[[พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] และ[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] เสด็จในงานเปิดอาคารเรียนหลังที่ 1]]
เนื่องในวโรกาสที่[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีพระราช'''พิธีสถาปนาเฉลิมพระนามาภิไธยสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าวชิราลงกรณ''' ดำรงพระราชอิสริยยศขึ้นเป็น [[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร]] เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2515 เพื่อที่จะได้ทรงประกอบพระราชกรณียกิจให้ประเทศชาติมีความเจริญมั่นคงและร่มเย็นสืบต่อไป
เนื่องในโอกาสที่ [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] (ภายหลัง[[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้เฉลิมพระปรมาภิไธยว่า[[พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]]) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้มี'''พระราชพิธีสถาปนาเฉลิมพระนามาภิไธยสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าวชิราลงกรณ''' ดำรงพระราชอิสริยยศขึ้นเป็น [[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร]] (ภายหลังเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็น[[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]])เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2515 เพื่อที่จะได้ทรงประกอบพระราชกรณียกิจให้ประเทศชาติมีความเจริญมั่นคงและร่มเย็นสืบต่อไป


ในวโรกาสอันเป็นมหามงคลนี้ นายบุญธรรม – นางบุญพริ้ง ต.สุวรรณ เจ้าของบริษัทสำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำกัด กรุงเทพฯ ซึ่งมีภูมิลำเนาเดิมอยู่ที่ อ.สีคิ้ว จ.นครราชสีมา ได้บริจาคเงินโดยเสด็จพระราชกุศล จำนวน 6,000,000 บาท (หกล้านบาทถ้วน) เพื่อสร้างตึกอาคารเรียนแบบ 424 พิเศษ 24 ห้องเรียน หอประชุม อาคารเรียนชั่วคราว ครุภัณฑ์ ส้วม และถังเก็บน้ำ พร้อมเปิดเรียนชั้น ม.ศ.1 และ ม.ศ.4 ในปีการศึกษา 2516 จำนวน 4 ห้องเรียนเพื่อน้อมเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ประกอบกับในขณะนั้นกระทรวงศึกษาธิการมีความประสงค์ที่จะขยายการศึกษาโดยการจัดตั้งโรงเรียนมัธยมศึกษาเพิ่มขึ้นอีกแห่งหนึ่งในอำเภอเมืองนครราชสีมา เนื่องจากจำนวนนักเรียนที่ประสงค์จะเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลายมีจำนวนมากขึ้นทุก ๆ ปี เกินกว่าที่โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย และโรงเรียนสุรนารีวิทยา ซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำจังหวัดจะสามารถรับนักเรียนที่มาสมัครเข้าเรียนได้ทั้งหมด ส่วนที่เป็นสถานที่ก่อสร้างอาคารเรียน กระทรวงศึกษาธิการมอบให้สำนักงานศึกษาธิการ จ.นครราชสีมา ซึ่งมี นายจรัญ ปัทมดิลก ดำรงตำแหน่งศึกษาธิการ จ.นครราชสีมา อยู่ในขณะนั้น ได้ดำเนินการจัดหาที่ดินสำหรับสร้างโรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งที่ 3 ในอำเภอเมืองนครราชสีมา สำนักงานกระทรวงศึกษาธิการ จ.นครราชสีมา สามารถจัดหาที่ดินในทำเลที่เหมาะสมได้พื้นที่ใน ต.หัวทะเล อ.เมือง ซึ่งเป็นสถานที่ในปัจจุบัน โดยมีผู้บริจาคโดยเสด็จพระราชกุศลดังนี้
ในโอกาสอันเป็นมหามงคลนี้ นายบุญธรรม – นางบุญพริ้ง ต.สุวรรณ เจ้าของบริษัทสำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำกัด กรุงเทพฯ ซึ่งมีภูมิลำเนาเดิมอยู่ที่ อ.สีคิ้ว จ.นครราชสีมา ได้บริจาคเงินโดยเสด็จพระราชกุศล จำนวน 6,000,000 บาท (หกล้านบาทถ้วน) เพื่อสร้างตึกอาคารเรียนแบบ 424 พิเศษ 24 ห้องเรียน หอประชุม อาคารเรียนชั่วคราว ครุภัณฑ์ ส้วม และถังเก็บน้ำ พร้อมเปิดเรียนชั้น ม.ศ.1 และ ม.ศ.4 ในปีการศึกษา 2516 จำนวน 4 ห้องเรียนเพื่อน้อมเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ประกอบกับในขณะนั้นกระทรวงศึกษาธิการมีความประสงค์ที่จะขยายการศึกษาโดยการจัดตั้งโรงเรียนมัธยมศึกษาเพิ่มขึ้นอีกแห่งหนึ่งในอำเภอเมืองนครราชสีมา เนื่องจากจำนวนนักเรียนที่ประสงค์จะเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลายมีจำนวนมากขึ้นทุก ๆ ปี เกินกว่าที่โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย และโรงเรียนสุรนารีวิทยา ซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำจังหวัดจะสามารถรับนักเรียนที่มาสมัครเข้าเรียนได้ทั้งหมด ส่วนที่เป็นสถานที่ก่อสร้างอาคารเรียน กระทรวงศึกษาธิการมอบให้สำนักงานศึกษาธิการ จ.นครราชสีมา ซึ่งมี นายจรัญ ปัทมดิลก ดำรงตำแหน่งศึกษาธิการ จ.นครราชสีมา อยู่ในขณะนั้น ได้ดำเนินการจัดหาที่ดินสำหรับสร้างโรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งที่ 3 ในอำเภอเมืองนครราชสีมา สำนักงานกระทรวงศึกษาธิการ จ.นครราชสีมา สามารถจัดหาที่ดินในทำเลที่เหมาะสมได้พื้นที่ใน ต.หัวทะเล อ.เมือง ซึ่งเป็นสถานที่ในปัจจุบัน โดยมีผู้บริจาคโดยเสด็จพระราชกุศลดังนี้


# ร้อยโทรส มาศิริ บริจาคที่ดินให้เปล่าจำนวน 50 ไร่
# ร้อยโทรส มาศิริ บริจาคที่ดินให้เปล่าจำนวน 50 ไร่
บรรทัด 37: บรรทัด 37:
ส่วนที่ดินอีก 2 ไร่ 3 งาน 20 ตารางวา ได้ขอเงินชดเชยจาก นายบุญธรรม – นางบุญพริ้ง ต.สุวรรณ จำนวน 13,000 บาท (หนึ่งหมื่นสามพันบาทถ้วน) เพื่อนำเงินไปบำเพ็ญกุศลอุทิศให้ พ่อ – แม่ ที่เคยครอบครองที่ดินมาก่อน (สมัยนั้นที่ดินหน้าโรงเรียนบุญวัฒนามีการจัดสรรขายไร่ละประมาณ 80,000 บาท) รวมที่ดินทั้งสิ้น 82 ไร่ 3 งาน 20 ตารางวา
ส่วนที่ดินอีก 2 ไร่ 3 งาน 20 ตารางวา ได้ขอเงินชดเชยจาก นายบุญธรรม – นางบุญพริ้ง ต.สุวรรณ จำนวน 13,000 บาท (หนึ่งหมื่นสามพันบาทถ้วน) เพื่อนำเงินไปบำเพ็ญกุศลอุทิศให้ พ่อ – แม่ ที่เคยครอบครองที่ดินมาก่อน (สมัยนั้นที่ดินหน้าโรงเรียนบุญวัฒนามีการจัดสรรขายไร่ละประมาณ 80,000 บาท) รวมที่ดินทั้งสิ้น 82 ไร่ 3 งาน 20 ตารางวา
[[ไฟล์:บุญวัฒนา.jpeg|thumbnail|บุญวัฒนา]]
[[ไฟล์:บุญวัฒนา.jpeg|thumbnail|บุญวัฒนา]]
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามโรงเรียนนี้ว่า “โรงเรียนบุญวัฒนา” เพื่อความเป็นศิริมงคลกับโรงเรียน ผู้บริจาคที่ดิน คุณบุญธรรม – คุณบุญพริ้ง ต.สุวรรณ เจ้าของบริษัทสำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำกัด และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการร่วมเสด็จพระราชกุศลครั้งนี้ด้วย
[[พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] ทรงพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามโรงเรียนนี้ว่า “โรงเรียนบุญวัฒนา” เพื่อความเป็นศิริมงคลกับโรงเรียน ผู้บริจาคที่ดิน คุณบุญธรรม – คุณบุญพริ้ง ต.สุวรรณ เจ้าของบริษัทสำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำกัด และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการร่วมเสด็จพระราชกุศลครั้งนี้ด้วย จังหวัดนครราชสีมา เป็นจังหวัดเดียวที่ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ จาก[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] และ[[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร]] (พระอิสริยยศในขณะนั้น) ที่ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจส่งเสริมการศึกษาและพระศาสนา ดังนี้

จังหวัดนครราชสีมา เป็นจังหวัดเดียวที่ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ที่ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจส่งเสริมการศึกษาและพระศาสนา ดังนี้
# ตั้งโรงเรียนบุญวัฒนา อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา
# ตั้งวัดวชิราลงกรณวราราม (ธ) อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา และยกให้เป็นพระอารามหลวง


# ตั้งโรงเรียนบุญวัฒนา
# ตั้งวัดวชิราลงกรณวราราม (ธ) ที่ อ.ปากช่อง และยกให้เป็นพระอารามหลวงพระราชกรณียกิจและพระมหากรุณาธิคุณในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระบรมรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ที่ได้ทรงบำเพ็ญตามราชประเพณีในวโรกาสนี้ นับเป็นอนุสรณ์แห่งความจงรักภักดีของพสนิกรชาวไทย พุทธศาสนิกชนชาวนครราชสีมาและชาวกระทรวงศึกษาธิการสืบไป
[[ไฟล์:ศิลาฤกษ์.jpeg|thumbnail|ทรงพระราชทานชื่อโรงเรียนบุญวัฒนา]]
[[ไฟล์:ศิลาฤกษ์.jpeg|thumbnail|ทรงพระราชทานชื่อโรงเรียนบุญวัฒนา]]
'''วันพุธที่ 3 มกราคม 2516 เวลา 12.30 น. สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร''' เสด็จพระราชดำเนินมาทรงวางศิลาฤกษ์ อาคารเรียนถาวร ซึ่งจะสร้างเป็นอาคารเรียน 4 ชั้น แบบ 424 พิเศษ งบประมาณการก่อสร้าง 4,816,264.49 บาท (สี่ล้านแปดแสนหนึ่งหมื่นหกพันสองร้อยหกสิบสี่บาทสี่สิบเก้าสตางค์)
'''วันพุธที่ 3 มกราคม 2516 เวลา 12.30 น. [[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร]]''' เสด็จพระราชดำเนินมาทรงวางศิลาฤกษ์ อาคารเรียนถาวร ซึ่งจะสร้างเป็นอาคารเรียน 4 ชั้น แบบ 424 พิเศษ งบประมาณการก่อสร้าง 4,816,264.49 บาท (สี่ล้านแปดแสนหนึ่งหมื่นหกพันสองร้อยหกสิบสี่บาทสี่สิบเก้าสตางค์)
นอกจากอาคารเรียนถาวรดังกล่าวแล้ว นายบุญธรรม และ นางบุญพริ้ง ต.สุวรรณ ยังได้สร้างอาคารเรียนชั่วคราว อาคารหอประชุม บ้านพักครู บ่อน้ำบาดาล พร้อมเครื่องสูบถังพักน้ำ โต๊ะเก้าอี้ครู 40 ชุด โต๊ะเก้าอี้นักเรียน 600 ชุด ห้องส้วม 2 หลัง ค่าชดเชยที่ดินและค่าจ้างปรับปรุงบริเวณโรงเรียน รวมเงินโดยเสด็จพระราชกุศล ในครั้งนี้ทุกรายการ จำนวน 6,000,000 บาท (หกล้านบาทถ้วน)
นอกจากอาคารเรียนถาวรดังกล่าวแล้ว นายบุญธรรม และ นางบุญพริ้ง ต.สุวรรณ ยังได้สร้างอาคารเรียนชั่วคราว อาคารหอประชุม บ้านพักครู บ่อน้ำบาดาล พร้อมเครื่องสูบถังพักน้ำ โต๊ะเก้าอี้ครู 40 ชุด โต๊ะเก้าอี้นักเรียน 600 ชุด ห้องส้วม 2 หลัง ค่าชดเชยที่ดินและค่าจ้างปรับปรุงบริเวณโรงเรียน รวมเงินโดยเสด็จพระราชกุศล ในครั้งนี้ทุกรายการ จำนวน 6,000,000 บาท (หกล้านบาทถ้วน)
วันที่ 17 พฤษภาคม 2516 โรงเรียนบุญวัฒนาเปิดสอนเป็นวันแรก โดยใช้อาคารเรียนชั่วคราวเนื่องจากอยู่ระหว่างการก่อสร้างอาคารเรียนถาวร การจัดการเรียนการสอนดำเนินตามหลักสูตรมัธยมศึกษาสายสามัญ มีนักเรียน 233 คน ครู 15 คน ห้องเรียน 6 ห้องเรียน เป็นชั้น ม.ศ.1 จำนวน 2 ห้อง ชั้น ม.ศ.4 จำนวน 4 ห้อง และมีนายเทิดศักดิ์ รัตนมณี เป็นครูใหญ่
วันที่ 17 พฤษภาคม 2516 โรงเรียนบุญวัฒนาเปิดสอนเป็นวันแรก โดยใช้อาคารเรียนชั่วคราวเนื่องจากอยู่ระหว่างการก่อสร้างอาคารเรียนถาวร การจัดการเรียนการสอนดำเนินตามหลักสูตรมัธยมศึกษาสายสามัญ มีนักเรียน 233 คน ครู 15 คน ห้องเรียน 6 ห้องเรียน เป็นชั้น ม.ศ.1 จำนวน 2 ห้อง ชั้น ม.ศ.4 จำนวน 4 ห้อง และมีนายเทิดศักดิ์ รัตนมณี เป็นครูใหญ่


วันพุธที่ 30 ตุลาคม 2517 เวลา 13.30 น. [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช]] และ[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ]] พร้อมด้วย[[สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าสิรินธร]] และ[[สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์]] ได้เสด็จพระราชดำเนิน ถึงโรงเรียนบุญวัฒนา เมื่อรถยนต์พระที่นั่งเทียบแถวนักเรียนที่รอรับเสด็จ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้เบิกตัว นายสมาน แสงมติ รองอธิบดีกรมสามัญศึกษา นายสมุทร วรรณพงษ์ ศึกษาธิการ จ.นครราชสีมา และนายเทิดศักดิ์ รัตนมณี ครูใหญ่โรงเรียนบุญวัฒนา ซึ่งรอรับเสด็จอยู่เข้าเฝ้าฯ และเชิญเสด็จพระราชดำเนินขึ้นสู่พลับพลาที่ประทับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัยพร้อมทั้งทรงศีล เสร็จแล้วรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการกราบบังคมทูลถวายรายงานประวัติโรงเรียนบุญวัฒนา จนได้เวลาอันเป็นปฐมฤกษ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการจึงได้กราบบังคมทูลเชิญเสด็จพระราชดำเนินขึ้นสู่อาคารเรียน เพื่อทรงเจิมแผ่นป้ายดวงฤกษ์แล้วจึงเสด็จไปยังห้องเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยในสมุดเยี่ยมของโรงเรียนบุญวัฒนา หลังจากนั้นนายบุญธรรม และนางบุญพริ้ง ต.สุวรรณ ได้เข้าเฝ้าฯ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชปฏิสันถารกับครูใหญ่โรงเรียนบุญวัฒนา ว่า
'''วันพุธที่ 30 ตุลาคม 2517 เวลา 13.30 น. [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] และ[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง|สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ]] พร้อมด้วย[[สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลโสภาคย์]] และ[[สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี]]''' ได้เสด็จพระราชดำเนิน ถึงโรงเรียนบุญวัฒนา เมื่อรถยนต์พระที่นั่งเทียบแถวนักเรียนที่รอรับเสด็จ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้เบิกตัว นายสมาน แสงมติ รองอธิบดีกรมสามัญศึกษา นายสมุทร วรรณพงษ์ ศึกษาธิการจังหวัดนครราชสีมา และนายเทิดศักดิ์ รัตนมณี ครูใหญ่โรงเรียนบุญวัฒนา ซึ่งรอรับเสด็จอยู่เข้าเฝ้าฯ และเชิญเสด็จพระราชดำเนินขึ้นสู่พลับพลาที่ประทับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัยพร้อมทั้งทรงศีล เสร็จแล้วรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการกราบบังคมทูลถวายรายงานประวัติโรงเรียนบุญวัฒนา จนได้เวลาอันเป็นปฐมฤกษ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการจึงได้กราบบังคมทูลเชิญเสด็จพระราชดำเนินขึ้นสู่อาคารเรียน เพื่อทรงเจิมแผ่นป้ายดวงฤกษ์แล้วจึงเสด็จไปยังห้องเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยในสมุดเยี่ยมของโรงเรียนบุญวัฒนา หลังจากนั้นนายบุญธรรม และนางบุญพริ้ง ต.สุวรรณ ได้เข้าเฝ้าฯ ต่อมา'''[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]''' มีพระราชปฏิสันถารกับครูใหญ่โรงเรียนบุญวัฒนา ว่า


{{คำพูด| จำนวนนักเรียนในปีการศึกษาหน้าจะมีเท่าไหร่}}
{{คำพูด| "จำนวนนักเรียนในปีการศึกษาหน้าจะมีเท่าไหร่..."}}


ครูใหญ่โรงเรียนบุญวัฒนากราบบังคมทูลว่า “ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อมในปีการศึกษาหน้าจะมีนักเรียนประมาณ 1,000 คน ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ”
ครูใหญ่โรงเรียนบุญวัฒนากราบบังคมทูลว่า “ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อมในปีการศึกษาหน้าจะมีนักเรียนประมาณ 1,000 คน ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ” [[พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] มีพระราชดำรัสว่า “การเป็นครูในปัจจุบันนี้มีความลำบากในการอบรมดูแลนักเรียน เพราะสังคมเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ครูต้องศึกษาและเรียนรู้ถึงวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสมในการอบรมดูแลนักเรียน ไม่ควรที่จะยินยอมตามที่นักเรียนเรียกร้องทุกครั้ง โดยมิได้คำนึงถึงเหตุผลและหลักการที่ถูกต้อง นอกจากนั้นขอให้พยายามและอดทนทำงานเพื่อเยาวชนของเรา การอุทิศตนทำงานในอาชีพครูนี้ได้กุศล ขออย่าได้ท้อถอย เพราะเหตุการณ์ในบ้านเมืองของเราขณะนี้เป็นอย่างไรก็รู้อยู่แล้ว ขอฝากไว้ให้ช่วยกันเพื่อประเทศชาติของเรา”
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชดำรัสว่า “การเป็นครูในปัจจุบันนี้มีความลำบากในการอบรมดูแลนักเรียน เพราะสังคมเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ครูต้องศึกษาและเรียนรู้ถึงวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสมในการอบรมดูแลนักเรียน ไม่ควรที่จะยินยอมตามที่นักเรียนเรียกร้องทุกครั้ง โดยมิได้คำนึงถึงเหตุผลและหลักการที่ถูกต้อง นอกจากนั้นขอให้พยายามและอดทนทำงานเพื่อเยาวชนของเรา การอุทิศตนทำงานในอาชีพครูนี้ได้กุศล ขออย่าได้ท้อถอย เพราะเหตุการณ์ในบ้านเมืองของเราขณะนี้เป็นอย่างไรก็รู้อยู่แล้ว ขอฝากไว้ให้ช่วยกันเพื่อประเทศชาติของเรา”


'''การเสด็จมาในครั้งนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ได้พระราชทานเงินทุนเพื่อการศึกษาแก่โรงเรียนบุญวัฒนา จำนวน 54,500.00 บาท''' (ห้าหมื่นสี่พันห้าร้อยบาท) พระมหากรุณาธิคุณของ
'''การเสด็จมาในครั้งนี้ได้พระราชทานเงินทุนเพื่อการศึกษาแก่โรงเรียนบุญวัฒนา จำนวน 54,500.00 บาท''' (ห้าหมื่นสี่พันห้าร้อยบาท) พระมหากรุณาธิคุณของ'''[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]''' ยังความปิติโสมนัสยิ่งแก่โรงเรียนบุญวัฒนา และชาวเมืองนครราชสีมาทั้งปวงที่มาเฝ้ารอรับเสด็จในโอกาสนี้ '''(พระอิสริยยศในขณะนั้น)'''
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ยังความปิติโสมนัสยิ่งแก่โรงเรียนบุญวัฒนา และชาวเมืองนครราชสีมาทั้งปวงที่มาเฝ้ารอรับเสด็จในโอกาสนี้


== หลักสูตรที่เปิดสอน (ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและปลาย) ==
== หลักสูตรที่เปิดสอน (ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและปลาย) ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:02, 28 ธันวาคม 2562

โรงเรียนบุญวัฒนา
Boon Wattana School

Boonwattana School
ไฟล์:ตรามงกุฏบุญวัฒนา.png
ที่ตั้ง
ข้อมูล
ชื่ออื่นบ.ว.น.
ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ
คำขวัญวินัยดี วิชาเด่น
สุวิชาโน ภวํ โหตฺ
(ผู้รู้ดีเป็นผู้เจริญ)
สถาปนา3 มกราคม พ.ศ. 2516
ผู้ก่อตั้งพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
หน่วยงานกำกับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
รหัส11300103
ผู้อำนวยการนายวิลาศ ดวงเงิน
ระดับปีที่จัดการศึกษามัธยมศึกษา
ภาษาที่ใช้เป็นสื่อการสอนภาษาที่มีการเรียนการสอนในโรงเรียน

ไทย ภาษาไทย
สหราชอาณาจักร ภาษาอังกฤษ
ญี่ปุ่น ภาษาญี่ปุ่น
จีน ภาษาจีน

ประเทศเกาหลี ภาษาเกาหลี
สี████ สีฟ้าและสีแดง
เพลงมาร์ชบุญวัฒนา
มาร์ชบุญวัฒนาอัญมณีแห่งโคราช
เว็บไซต์www.boon.ac.th
ต้นไม้ประจำโรงเรียน - ราชพฤกษ์

โรงเรียนบุญวัฒนา (Boonwattana School) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหศึกษา และเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดนครราชสีมา แห่งที่ 3 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 3 มกราคม 2516

ประวัติ

ไฟล์:ในหลวงเสด็จมาโรงเรียนบุญวัฒนา.jpeg
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จในงานเปิดอาคารเรียนหลังที่ 1

เนื่องในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (ภายหลังพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้เฉลิมพระปรมาภิไธยว่าพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้มีพระราชพิธีสถาปนาเฉลิมพระนามาภิไธยสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าวชิราลงกรณ ดำรงพระราชอิสริยยศขึ้นเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร (ภายหลังเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว)เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2515 เพื่อที่จะได้ทรงประกอบพระราชกรณียกิจให้ประเทศชาติมีความเจริญมั่นคงและร่มเย็นสืบต่อไป

ในโอกาสอันเป็นมหามงคลนี้ นายบุญธรรม – นางบุญพริ้ง ต.สุวรรณ เจ้าของบริษัทสำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำกัด กรุงเทพฯ ซึ่งมีภูมิลำเนาเดิมอยู่ที่ อ.สีคิ้ว จ.นครราชสีมา ได้บริจาคเงินโดยเสด็จพระราชกุศล จำนวน 6,000,000 บาท (หกล้านบาทถ้วน) เพื่อสร้างตึกอาคารเรียนแบบ 424 พิเศษ 24 ห้องเรียน หอประชุม อาคารเรียนชั่วคราว ครุภัณฑ์ ส้วม และถังเก็บน้ำ พร้อมเปิดเรียนชั้น ม.ศ.1 และ ม.ศ.4 ในปีการศึกษา 2516 จำนวน 4 ห้องเรียนเพื่อน้อมเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ประกอบกับในขณะนั้นกระทรวงศึกษาธิการมีความประสงค์ที่จะขยายการศึกษาโดยการจัดตั้งโรงเรียนมัธยมศึกษาเพิ่มขึ้นอีกแห่งหนึ่งในอำเภอเมืองนครราชสีมา เนื่องจากจำนวนนักเรียนที่ประสงค์จะเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลายมีจำนวนมากขึ้นทุก ๆ ปี เกินกว่าที่โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย และโรงเรียนสุรนารีวิทยา ซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำจังหวัดจะสามารถรับนักเรียนที่มาสมัครเข้าเรียนได้ทั้งหมด ส่วนที่เป็นสถานที่ก่อสร้างอาคารเรียน กระทรวงศึกษาธิการมอบให้สำนักงานศึกษาธิการ จ.นครราชสีมา ซึ่งมี นายจรัญ ปัทมดิลก ดำรงตำแหน่งศึกษาธิการ จ.นครราชสีมา อยู่ในขณะนั้น ได้ดำเนินการจัดหาที่ดินสำหรับสร้างโรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งที่ 3 ในอำเภอเมืองนครราชสีมา สำนักงานกระทรวงศึกษาธิการ จ.นครราชสีมา สามารถจัดหาที่ดินในทำเลที่เหมาะสมได้พื้นที่ใน ต.หัวทะเล อ.เมือง ซึ่งเป็นสถานที่ในปัจจุบัน โดยมีผู้บริจาคโดยเสด็จพระราชกุศลดังนี้

  1. ร้อยโทรส มาศิริ บริจาคที่ดินให้เปล่าจำนวน 50 ไร่
  2. สิบเอกสมศักดื์ เจริญพจน์ บริจาคที่ดินให้จำนวน 30 ไร่

ส่วนที่ดินอีก 2 ไร่ 3 งาน 20 ตารางวา ได้ขอเงินชดเชยจาก นายบุญธรรม – นางบุญพริ้ง ต.สุวรรณ จำนวน 13,000 บาท (หนึ่งหมื่นสามพันบาทถ้วน) เพื่อนำเงินไปบำเพ็ญกุศลอุทิศให้ พ่อ – แม่ ที่เคยครอบครองที่ดินมาก่อน (สมัยนั้นที่ดินหน้าโรงเรียนบุญวัฒนามีการจัดสรรขายไร่ละประมาณ 80,000 บาท) รวมที่ดินทั้งสิ้น 82 ไร่ 3 งาน 20 ตารางวา

ไฟล์:บุญวัฒนา.jpeg
บุญวัฒนา

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามโรงเรียนนี้ว่า “โรงเรียนบุญวัฒนา” เพื่อความเป็นศิริมงคลกับโรงเรียน ผู้บริจาคที่ดิน คุณบุญธรรม – คุณบุญพริ้ง ต.สุวรรณ เจ้าของบริษัทสำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำกัด และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการร่วมเสด็จพระราชกุศลครั้งนี้ด้วย จังหวัดนครราชสีมา เป็นจังหวัดเดียวที่ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร (พระอิสริยยศในขณะนั้น) ที่ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจส่งเสริมการศึกษาและพระศาสนา ดังนี้

  1. ตั้งโรงเรียนบุญวัฒนา อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา
  2. ตั้งวัดวชิราลงกรณวราราม (ธ) อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา และยกให้เป็นพระอารามหลวง
ไฟล์:ศิลาฤกษ์.jpeg
ทรงพระราชทานชื่อโรงเรียนบุญวัฒนา

วันพุธที่ 3 มกราคม 2516 เวลา 12.30 น. สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินมาทรงวางศิลาฤกษ์ อาคารเรียนถาวร ซึ่งจะสร้างเป็นอาคารเรียน 4 ชั้น แบบ 424 พิเศษ งบประมาณการก่อสร้าง 4,816,264.49 บาท (สี่ล้านแปดแสนหนึ่งหมื่นหกพันสองร้อยหกสิบสี่บาทสี่สิบเก้าสตางค์) นอกจากอาคารเรียนถาวรดังกล่าวแล้ว นายบุญธรรม และ นางบุญพริ้ง ต.สุวรรณ ยังได้สร้างอาคารเรียนชั่วคราว อาคารหอประชุม บ้านพักครู บ่อน้ำบาดาล พร้อมเครื่องสูบถังพักน้ำ โต๊ะเก้าอี้ครู 40 ชุด โต๊ะเก้าอี้นักเรียน 600 ชุด ห้องส้วม 2 หลัง ค่าชดเชยที่ดินและค่าจ้างปรับปรุงบริเวณโรงเรียน รวมเงินโดยเสด็จพระราชกุศล ในครั้งนี้ทุกรายการ จำนวน 6,000,000 บาท (หกล้านบาทถ้วน) วันที่ 17 พฤษภาคม 2516 โรงเรียนบุญวัฒนาเปิดสอนเป็นวันแรก โดยใช้อาคารเรียนชั่วคราวเนื่องจากอยู่ระหว่างการก่อสร้างอาคารเรียนถาวร การจัดการเรียนการสอนดำเนินตามหลักสูตรมัธยมศึกษาสายสามัญ มีนักเรียน 233 คน ครู 15 คน ห้องเรียน 6 ห้องเรียน เป็นชั้น ม.ศ.1 จำนวน 2 ห้อง ชั้น ม.ศ.4 จำนวน 4 ห้อง และมีนายเทิดศักดิ์ รัตนมณี เป็นครูใหญ่

วันพุธที่ 30 ตุลาคม 2517 เวลา 13.30 น. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลโสภาคย์ และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ได้เสด็จพระราชดำเนิน ถึงโรงเรียนบุญวัฒนา เมื่อรถยนต์พระที่นั่งเทียบแถวนักเรียนที่รอรับเสด็จ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้เบิกตัว นายสมาน แสงมติ รองอธิบดีกรมสามัญศึกษา นายสมุทร วรรณพงษ์ ศึกษาธิการจังหวัดนครราชสีมา และนายเทิดศักดิ์ รัตนมณี ครูใหญ่โรงเรียนบุญวัฒนา ซึ่งรอรับเสด็จอยู่เข้าเฝ้าฯ และเชิญเสด็จพระราชดำเนินขึ้นสู่พลับพลาที่ประทับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัยพร้อมทั้งทรงศีล เสร็จแล้วรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการกราบบังคมทูลถวายรายงานประวัติโรงเรียนบุญวัฒนา จนได้เวลาอันเป็นปฐมฤกษ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการจึงได้กราบบังคมทูลเชิญเสด็จพระราชดำเนินขึ้นสู่อาคารเรียน เพื่อทรงเจิมแผ่นป้ายดวงฤกษ์แล้วจึงเสด็จไปยังห้องเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยในสมุดเยี่ยมของโรงเรียนบุญวัฒนา หลังจากนั้นนายบุญธรรม และนางบุญพริ้ง ต.สุวรรณ ได้เข้าเฝ้าฯ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชปฏิสันถารกับครูใหญ่โรงเรียนบุญวัฒนา ว่า

"จำนวนนักเรียนในปีการศึกษาหน้าจะมีเท่าไหร่..."

ครูใหญ่โรงเรียนบุญวัฒนากราบบังคมทูลว่า “ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อมในปีการศึกษาหน้าจะมีนักเรียนประมาณ 1,000 คน ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ” พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระราชดำรัสว่า “การเป็นครูในปัจจุบันนี้มีความลำบากในการอบรมดูแลนักเรียน เพราะสังคมเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ครูต้องศึกษาและเรียนรู้ถึงวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสมในการอบรมดูแลนักเรียน ไม่ควรที่จะยินยอมตามที่นักเรียนเรียกร้องทุกครั้ง โดยมิได้คำนึงถึงเหตุผลและหลักการที่ถูกต้อง นอกจากนั้นขอให้พยายามและอดทนทำงานเพื่อเยาวชนของเรา การอุทิศตนทำงานในอาชีพครูนี้ได้กุศล ขออย่าได้ท้อถอย เพราะเหตุการณ์ในบ้านเมืองของเราขณะนี้เป็นอย่างไรก็รู้อยู่แล้ว ขอฝากไว้ให้ช่วยกันเพื่อประเทศชาติของเรา”

การเสด็จมาในครั้งนี้ได้พระราชทานเงินทุนเพื่อการศึกษาแก่โรงเรียนบุญวัฒนา จำนวน 54,500.00 บาท (ห้าหมื่นสี่พันห้าร้อยบาท) พระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ยังความปิติโสมนัสยิ่งแก่โรงเรียนบุญวัฒนา และชาวเมืองนครราชสีมาทั้งปวงที่มาเฝ้ารอรับเสด็จในโอกาสนี้ (พระอิสริยยศในขณะนั้น)

หลักสูตรที่เปิดสอน (ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและปลาย)

มัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 - ม.3)
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ พิเศษ 4 ห้องเรียน
วิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ SMTE(GSMP) 1 ห้องเรียน โครงการของ สสวท.
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ แบบเข้ม ISMEP 2 ห้องเรียน โครงการของ โรงเรียน
ภาษาอังกฤษแบบเข้ม EP 1 ห้องเรียน โครงการของ โรงเรียน
ทั่วไป ทั่วไป 12 ห้องเรียน
โยธวาทิต ทั่วไป 12 ห้องเรียน ยกเลิกสาขาไปแล้ว
ทั่วไป
รวม 16 ห้องเรียน
มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - ม.6)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ชื่อย่อ จำนวนห้องเรียน หมายเหตุ
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ วิทย์-คณิต 9 ห้องเรียน
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม SMTE 1 ห้องเรียน โครงการของ สสวท.
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ แบบเข้ม ISMEP 2 ห้องเรียน โครงการของ โรงเรียน
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ทั่วไป วิทย์-คณิต 6 ห้องเรียน ยกเลิกรวมภาษาเรียนไปแล้ว
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาจีน วิทย์-จีน
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาญี่ปุ่น วิทย์-ญี่ปุ่น
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาฝรั่งเศส วิทย์-ฝรั่งเศส ยกเลิกภาษาฝรั่งเศสไปแล้ว
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ กิจกรรม วิทย์-กิจกรรม ยกเลิกสาขากิจกรรมไปแล้ว
ศิลป์ ศิลป์ 8 ห้องเรียน
คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษและเทคโนโลยี ศิลป์-คำนวณ 3 ห้องเรียน
ภาษาไทย สังคมศึกษาและเทคโนโลยี ศิลป์-ไทย 2 ห้องเรียน
ภาษาศาสตร์ สาขาภาษาจีน ศิลป์-จีน 3 ห้องเรียน คละสายภาษาในห้องเรียน

เลือกตามเอกที่ตนต้องการ

ภาษาศาสตร์ สาขาภาษาญี่ปุ่น ศิลป์-ญี่ปุ่น
ภาษาศาสตร์ สาขาภาษาอังกฤษ ศิลป์-อังกฤษ
ภาษาศาสตร์ สาขาภาษาฝรั่งเศส ศิลป์-ฝรั่งเศส ยกเลิกภาษาฝรั่งเศสไปแล้ว
รวม 17 ห้องเรียน
โครงการที่คาดว่าจะจัดตั้ง
ภาษาศาสตร์ สาขาภาษาเยอรมัน ศิลป์-เยอรมัน ไม่มีข้อมูลชัดเจน
ภาษาศาสตร์ สาขาภาษาสเปน ศิลป์-สเปน
ภาษาศาสตร์ สาขาภาษาเกาหลี ศิลป์ เกาหลี

รายนามผู้บริหาร

ลำดับ รูป รายนาม เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
     1.  ไฟล์:ตรามงกุฏบุญวัฒนา.png นายเทอดศักดิ์ รัตนมณี
(- - -)
พ.ศ. 2516 พ.ศ. 2519
     2.  ไฟล์:ตรามงกุฏบุญวัฒนา.png นายไพรัตน์ สุวรรณแสง
(- - -)
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2519 ตุลาคม พ.ศ. 2519
     3.  ไฟล์:ตรามงกุฏบุญวัฒนา.png นายครรชิต ตรานุชรัตน์
(- - -)
พ.ศ. 2519 พ.ศ. 2532
     4.  ไฟล์:ตรามงกุฏบุญวัฒนา.png นายล้วน วรนุช
(- - -)
พ.ศ. 2532 พ.ศ. 2535
     5.  ไฟล์:ตรามงกุฏบุญวัฒนา.png นายจารุ โรจนรังสิมันตุ์
(- - -)
พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2543
     6.  ไฟล์:ตรามงกุฏบุญวัฒนา.png นายธนศักดิ์ กระต่ายทอง
(- - -)
พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2547
     7.  ไฟล์:ตรามงกุฏบุญวัฒนา.png นายศิลปสิทธิ์ ทับทิมธงไชย
(- - -)
พ.ศ. 2547 พ.ศ. 2549
     8.  ไฟล์:ตรามงกุฏบุญวัฒนา.png นายมโน ศรีวัฒนพงศ์
(- - -)
พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2555
     9.  ไฟล์:ตรามงกุฏบุญวัฒนา.png นายสมัคร ไวยขุนทด
(- - -)
พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557
   10.  ไฟล์:ตรามงกุฏบุญวัฒนา.png นายลัดทา ชนะภัย
(- - -)
มีนาคม พ.ศ. 2557 กันยายน พ.ศ. 2557
   11.  ไฟล์:ตรามงกุฏบุญวัฒนา.png นายอนันต์ เพียรเกาะ
(- - -)
พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2559
   12.  ไฟล์:ตรามงกุฏบุญวัฒนา.png นายวิลาศ ดวงเงิน
(- - -)
พ.ศ. 2559 ปัจจุบัน

อาคาร

อาคาร ห้องภายในอาคาร
ตึก 1 อาคารเรียน แผนกมัธยมศึกษาตอนต้น
  • ห้องทะเบียนและวัดผล
  • ห้องกลุ่มงานวิชาการ
  • ห้องกลุ่มงานกิจการนักเรียน
  • ห้องกลุ่มงานนโยบาย
  • ห้องกลุ่มงานต่างๆ
  • ห้องประชุม 40ปี บุญวัฒนา
  • ห้องถ่ายเอกสารเฉพาะ (Roll Exam)
  • ห้องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิก
  • ห้องสมุดนักเรียน ISMEP
  • ห้องเรียนนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ระบบห้องประจำ)
ตึก 2 อาคารเรียน แผนกมัธยมศึกษาตอนต้น
  • ห้องงานแนะแนว
  • ห้องนักเรียนเรียนร่วม นักเรียนผู้พิการทางสายตา
  • ห้องหมวดคณิตศาสตร์ แผนกมัธยมศึกษาตอนต้น
  • ห้องหมวดภาษาอังกฤษ แผนกมัธยมศึกษาตอนต้น
  • ห้องดนตรีไทย
  • ห้อง E-CLASSROOM
  • ห้องเรียนนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ระบบห้องประจำ)
ตึก 3 อาคารเรียน แผนกมัธยมศึกษาตอนต้น
  • ห้องหมวดสังคมศึกษา แผนกมัธยมศึกษาตอนต้น
  • ห้องหมวดภาษาไทย แผนกมัธยมศึกษาตอนต้น
  • ห้อง E-CLASSROOM
  • ห้องเรียนนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ระบบห้องประจำ)
ตึก 4 (เฉลิมพระเกียรติ์ 6 รอบ พระชนมพรรษา)

ตึกเรียนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

ชั้น 1

  • โถงกิจกรรม
  • หอสมุดกลาง

ชั้น 2

  • ห้องเรียนผ่านทางเดียวเทียม
  • ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
  • ห้องหมวดเทคโนโลยีสารสนเทศ

ชั้น 3

  • ห้องหมวดวิทยาศาสตร์ แผนกมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย
  • ห้องปฏิบัติการทางเคมี
  • ห้องปฏิบัติการทางฟิสิกส์
  • ห้องปฏิบัติการทางชีววิทยา
  • ห้องเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
  • ห้องเรียนทั่วไป

ชั้น 4

  • ห้องเรียนหมวดวิทยาศาสตร์
  • ห้องเรียนนักเรียนพิเศษ SMTE และ GSMP
  • ห้องปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์
  • ห้องสมุดนักเรียนห้องเรียนพิเศษ SMTE และ GSMP

ชั้น 5

  • ห้องหมวดคณิตศาสตร์ แผนกมัธยมศึกษาตอนปลาย
  • ห้องเรียนนักเรียนพิเศษ ISMEP
  • ห้องเรียน สอวน. คณิตศาสตร์ จำนวน 1 ห้องเรียน

ชั้น 6

  • ห้องหมวดภาษาต่างประเทศ แผนกมัธยมศึกษาตอนปลาย
  • ห้องเรียนทั่วไป

ชั้น 7

  • ห้องหมวดภาษาไทย แผนกมัธยมศึกษาตอนปลาย
  • ห้องเรียนทั่วไป

ชั้น 8

  • ห้องหมวดสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม แผนกมัธยมศึกษาตอนปลาย
  • ห้องเรียนทั่วไป
  • ห้องสมุดอาเซียน

ชั้น 9

  • ห้องหมวดธุรกิจ
  • ห้องสื่อทางไกลก้าวหน้า Smart School
  • ห้องประชุมหลวงพ่อคูณฯ
  • ห้องเรียนทั่วไป
ตึกศิลปะ
  • ห้องนาฏศิลป์
  • ห้องดนตรีสากล
  • ห้องศิลปะศึกษา
  • ห้องหมวดศิลปะ
ตึกหอประชุม
  • โรงอาหาร
  • หอประชุม
  • ห้องคณะกรรมการนักเรียน
  • ห้องสภานักเรียน
ตึกโยธวาธิต
  • ห้องโยธวาธิต
ตึกคหกรรมและอุตสาหรกรรม
  • ห้องเสริมสวย
  • ห้องอุตสาหกรรม
  • ห้องเขียนแบบ
  • ห้องคหกรรม
  • ห้องลูกเสือกองพิเศษ
ตึกประชาสัมพันธ์
  • ห้องประชาสัมพันธ์
  • ห้องอำนวยการ
  • ห้องประชุมเอกดวงเดือน
ตึกพยาบาล
  • ห้องพยาบาล
ตึกธนาคารและสวนพฤษศาสตร์
  • ห้องธนาคารโรงเรียน
  • ห้องสวนพฤษศาสตร์
ตึกพลศึกษา
  • ห้องหมวดสุขศึกษาและพลศึกษา
  • ห้องเรียนทั่วไป
ตึกเกษตร
  • ห้องเรียนทั่วไป
  • ห้องหมวดเกษตร

คณะสี

โรงเรียนบุญวัฒนา เป็นโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษจึงได้แบ่งการปกครองเป็น 2 ระบบคือ ระดับชั้นและคณะ(สี) โดยแบ่งออกเป็น 6 คณะ เพื่อให้ง่ายต่อการควบคุมดูแลนักเรียน

โดยสังกัดเป็นเวลา 3 ปี (คือมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 และ มัธยมศึกษาปีที่ 4-6) ใช้ระบบห้องเรียนในการแบ่งคณะภายในโรงเรียน ให้สอดคล้องกับการเล่นกิจกรรมสายรหัสของนักเรียน

  คณะบุษกร (Budsakorn) สีน้ำเงินอ่อน และได้นำ "ดอกบัว" เป็นดอกไม้ประจำคณะ ที่พบคณะ ชั้นล่างอาคารเฉลิมพระเกียรติ์ ๖ รอบ (ตึก 4)

  คณะทองกวาว (Thongkwao) สีแสด และได้นำ "ดอกทองกวาว" เป็นดอกไม้ประจำคณะ ที่พบคณะ ศาลาเฉลิมพระเกียรติ์ สนามกีฬา (ศาลาแดง)

  คณะปัทมา (Pattama) สีแดง และได้นำ "ดอกบัว" เป็นดอกไม้ประจำคณะ ที่พบคณะ ลานธรรม

  คณะการเวก (Karawek) สีเขียวอ่อน และได้นำ "ดอกการเวก" เป็นดอกไม้ประจำคณะ ที่พบคณะ การเวก 1

  คณะราชพฤกษ์ (Ratchaphuk) สีเหลือง และได้นำ "ดอกราชพฤกษ์" เป็นดอกไม้ประจำคณะ ที่พบคณะ อาคารศิลปะ

  คณะราชาวดี (Rachawadee) สีฟ้า และได้นำ "ดอกราชาวดี" เป็นดอกไม้ประจำคณะ ที่พบคณะ ลานดนตรี

รุ่นต่างๆในโรงเรียนบุญวัฒนา

รุ่นนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

รุ่นที่ ปี พ.ศ. (การศึกษา) ที่จบ ชื่อรุ่น (ปีเกิด + หรือ - 1ปี)
1 2518 2499 ราชพฤกษ์ช่อที่ 1
2 2519 2500 ราชพฤกษ์ช่อที่ 2
3 2520 2501 ราชพฤกษ์ช่อที่ 3
4 2521 2502 ราชพฤกษ์ช่อที่ 4
5 2522 2503 ราชพฤกษ์ช่อที่ 5
6 2523 2504 ราชพฤกษ์ช่อที่ 6
7 2524 2505 ราชพฤกษ์ช่อที่ 7
8 2525 2506 ราชพฤกษ์ช่อที่ 8
9 2526 2507 ราชพฤกษ์ช่อที่ 9
10 2527 2508 ราชพฤกษ์ช่อที่ 10
11 2528 2509 ราชพฤกษ์ช่อที่ 11
12 2529 2510 ราชพฤกษ์ช่อที่ 12
13 2530 2511 ราชพฤกษ์ช่อที่ 13
14 2531 2512 ราชพฤกษ์ช่อที่ 14
15 2532 2513 ราชพฤกษ์ช่อที่ 15
16 2533 2514 ราชพฤกษ์ช่อที่ 16
17 2534 2515 ราชพฤกษ์ช่อที่ 17
18 2535 2516 ราชพฤกษ์ช่อที่ 18
19 2536 2517 ราชพฤกษ์ช่อที่ 19
20 2537 2517 ราชพฤกษ์ช่อที่ 20
21 2538 2519 ราชพฤกษ์ช่อที่ 21
22 2539 2520 ราชพฤกษ์ช่อที่ 22
23 2540 2521 ราชพฤกษ์ช่อที่ 23
24 2541 2522 ราชพฤกษ์ช่อที่ 24
25 2542 2523 ราชพฤกษ์ช่อที่ 25
26 2543 2524 ราชพฤกษ์ช่อที่ 26
27 2544 2525 ราชพฤกษ์ช่อที่ 27
28 2545 2526 ราชพฤกษ์ช่อที่ 28
29 2546 2527 ราชพฤกษ์ช่อที่ 29
30 2547 2528 ราชพฤกษ์ช่อที่ 30
31 2548 2529 ราชพฤกษ์ช่อที่ 31
32 2549 2530 ราชพฤกษ์ช่อที่ 32
33 2550 2531 ราชพฤกษ์ช่อที่ 33
34 2551 เพ็ชรชมพู ราชพฤกษ์ช่อที่ 34
35 2552 เพ็ชรน้ำบุศย์ ราชพฤกษ์ช่อที่ 35
36 2553 เมกมุกดา ราชพฤกษ์ช่อที่ 36
37 2554 บุษราคม ราชพฤกษ์ช่อที่ 37
38 2555 โกเมน ราชพฤกษ์ช่อที่ 38
39 2556 จามจุรี ราชพฤกษ์ช่อที่ 39
40 2557 ราชพฤกษ์ ราชพฤกษ์ช่อที่ 40
41 2558 สาธร (แก้วกัลยา) ราชพฤกษ์ช่อที่ 41
42 2559 นนทรี ราชพฤกษ์ช่อที่ 42
43 2560 ปาริชาติ ราชพฤกษ์ช่อที่ 43
44 2561 - ราชพฤกษ์ช่อที่ 44
45 2562 - ราชพฤกษ์ช่อที่ 45
46 2563 - ราชพฤกษ์ช่อที่ 46
47 2564 - ราชพฤกษ์ช่อที่ 47
48 2565 - ราชพฤกษ์ช่อที่ 48
49 2566 - ราชพฤกษ์ช่อที่ 49
50 2567 - ราชพฤกษ์ช่อที่ 50

บุคลที่มีชื่อเสียง

แหล่งข้อมูลอื่น

อ้างอิง