ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีสนามไชย"

พิกัด: 13°44′38″N 100°29′38″E / 13.744°N 100.494°E / 13.744; 100.494
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tananol Tri Tk (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{BMCL infobox
{{Infobox station
| name= สถานีสนามไชย
|thaname=สนามไชย
| enname= Sanam Chai
|engname=Sanam Chai
|livery= 992600
| type= {{rint|bangkok|mrt}} {{rint|bangkok|blue}}
|namecolour=FFFFFF
| former=
|line=รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล
| opened= 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
| image=Sanam_Chai_MRT_(I).jpg
|image= Sanam Chai MRT (I).jpg
|caption=ชั้นจำหน่ายบัตรโดยสาร
| image_caption=ภายในสถานีสนามไชย
| address= [[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพมหานคร]] [[ประเทศไทย]]
|district=[[เขตพระนคร]]
|road=สนามไชย
| owned= [[การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย]] (MRTA)
|open= 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
| operator= [[ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ]] (BEM)
|type=ใต้ดิน
| coordinates=
|platformtype=เกาะกลาง
| line= {{BTS Lines|รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล}}
| platform=2
|platformno=2
|exitno=5
| platform_type=เกาะกลาง
|escalatorno=21
| structure=ใต้ดิน
|liftno=3
| exit=5
|shopno=
| escalator=21
|code=BL31
| elevator=3
|hours=6.00 น. - 24.00 น.
| code= BL31
|connections=รถโดยสารประจำทาง, เรือด่วนเจ้าพระยา (ไม่มีธง)
| services={{เริ่มทางรถไฟ}}
|operator=บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
{{สถานีรถไฟ|สาย={{BTS Lines|รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล}}|สี ={{BTS color|รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล}}|ก่อนหน้า=[[สถานีสามยอด|สามยอด]]<br />''มุ่งหน้า [[สถานีท่าพระ|ท่าพระ]]''<br>''{{เทาเล็ก|(ผ่านบางซื่อ)}}''|ถัดไป = [[สถานีอิสรภาพ|อิสรภาพ]]<br />''มุ่งหน้า [[สถานีหลักสอง|หลักสอง]]''}}
|respond=[[การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย]]
{{จบกล่อง}}
|maplineid=1
|mapstationid=31
}}
}}


'''สถานีสนามไชย''' ({{Lang-en|Sanam Chai Station, รหัส BL31}}) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินของ[[รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล]] ตั้งอยู่ใต้[[ถนนสนามไชย]] [[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพมหานคร]] บริเวณ[[มิวเซียมสยาม]] และ [[โรงเรียนวัดราชบพิธ]] สถานีสนามไชยได้ชื่อว่าเป็นสถานีรถไฟฟ้าที่สวยที่สุดในประเทศไทย และเป็นสถานีที่เชื่อมต่อกับอุโมงค์ลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยาแห่งแรกของประเทศไทย มุ่งหน้า[[สถานีอิสรภาพ]] ในฝั่งธนบุรี
'''สถานีสนามไชย''' ({{Lang-en|Sanam Chai Station, รหัส BL31}}) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทาง[[รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล]] โดยเป็นสถานีเดียวในระบบรถไฟฟ้าใต้ดินที่ตั้งอยู่บริเวณใจกลางพื้นที่อนุรักษ์[[เกาะรัตนโกสินทร์]] ในแนว[[ถนนสนามไชย]] [[กรุงเทพมหานคร]] บริเวณ[[วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม]] เป็นเส้นทางต่อเนื่องจากสถานีหัวลำโพง ผ่านพื้นที่เมืองเก่าก่อนลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณ[[ปากคลองตลาด]] ไปยัง[[ฝั่งธนบุรี]] และยกระดับขึ้นสู่[[สถานีท่าพระ]]ต่อไป

สถานีตั้งอยู่ด้านล่าง[[ถนนสนามไชย]] ด้านทิศเหนือของแยก[[สะพานเจริญรัช 31]] หรือ[[ปากคลองตลาด]] (จุดบรรจบถนนสนามไชย, [[ถนนมหาราช]], [[ถนนราชินี]], [[ถนนอัษฎางค์]] และ[[ถนนจักรเพชร]]) บริเวณด้านหน้า[[โรงเรียนวัดราชบพิธ]], [[มิวเซียมสยาม]] และด้านหลัง[[วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม]] ในพื้นที่แขวงพระบรมมหาราชวัง [[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพมหานคร]]


== การออกแบบ ==
== การออกแบบ ==
บรรทัด 96: บรรทัด 100:
* '''B2''' ชั้นออกบัตรโดยสาร เหรียญโดยสาร และห้องประชาสัมพันธ์ (Concourse level)
* '''B2''' ชั้นออกบัตรโดยสาร เหรียญโดยสาร และห้องประชาสัมพันธ์ (Concourse level)
* '''B3''' ชั้นระหว่างชั้นออกบัตรโดยสาร กับชั้นชานชาลา
* '''B3''' ชั้นระหว่างชั้นออกบัตรโดยสาร กับชั้นชานชาลา
*'''B4''' ชั้นชานชาลา (Platform level) ชานชาลา 1 มุ่งหน้าสถานีหลักสอง และชานชาลา 2 มุ่งหน้าสถานีท่าพระ (ผ่านสถานีบางซื่อ)
*'''B4''' ชั้นชานชาลา (Platform level) ชานชาลา 1 มุ่งหน้าสถานีหลักสอง และชานชาลา 2 มุ่งหน้าสถานีเตาปูน


== เวลาให้บริการ ==
== เวลาให้บริการ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:05, 28 ธันวาคม 2562

แม่แบบ:BMCL infobox

สถานีสนามไชย (อังกฤษ: Sanam Chai Station, รหัส BL31) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล โดยเป็นสถานีเดียวในระบบรถไฟฟ้าใต้ดินที่ตั้งอยู่บริเวณใจกลางพื้นที่อนุรักษ์เกาะรัตนโกสินทร์ ในแนวถนนสนามไชย กรุงเทพมหานคร บริเวณวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เป็นเส้นทางต่อเนื่องจากสถานีหัวลำโพง ผ่านพื้นที่เมืองเก่าก่อนลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณปากคลองตลาด ไปยังฝั่งธนบุรี และยกระดับขึ้นสู่สถานีท่าพระต่อไป

สถานีตั้งอยู่ด้านล่างถนนสนามไชย ด้านทิศเหนือของแยกสะพานเจริญรัช 31 หรือปากคลองตลาด (จุดบรรจบถนนสนามไชย, ถนนมหาราช, ถนนราชินี, ถนนอัษฎางค์ และถนนจักรเพชร) บริเวณด้านหน้าโรงเรียนวัดราชบพิธ, มิวเซียมสยาม และด้านหลังวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ในพื้นที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

การออกแบบ

ภายในสถานี
ชานชาลาไปฝั่งธนบุรี (สถานีหลักสอง)

ที่ตั้งของสถานีสนามไชยเป็นสถานีแห่งเดียวในโครงการระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานคร ที่มีตัวสถานีอยู่ใจกลางพื้นที่ชั้นในของเกาะรัตนโกสินทร์ ภายในขอบเขตระหว่างแม่น้ำเจ้าพระยา และคลองคูเมืองเดิม (นอกเหนือจากสถานีสนามหลวง ของรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม ซึ่งมีทางเข้า-ออกสถานีที่เชื่อมต่อกับท้องสนามหลวงอยู่ในขอบเขตพื้นที่ดังกล่าว) จึงทำให้การวางแผนก่อสร้างเส้นทางและตัวสถานีสนามไชยเป็นที่จับตามองจากคณะกรรมการกรุงรัตนโกสินทร์ เนื่องจากหลายฝ่ายกังวลว่าโครงสร้างระบบรถไฟฟ้าจะส่งผลกระทบต่อชั้นน้ำใต้ดินและความมั่นคงของโครงสร้างโบราณสถานที่สำคัญใกล้เคียง โดยเฉพาะวัดพระเชตุพนฯ และพระบรมมหาราชวัง นอกจากนี้เพื่อรักษาทัศนียภาพของเมืองและเพื่อลดผลกระทบในระหว่างการก่อสร้าง จึงจำเป็นต้องเลือกวิธีการก่อสร้างเส้นทางแบบไม่เปิดหน้าดิน

เพื่อป้องกันมิให้โครงสร้างสถานีบดบังทัศนียภาพของมิวเซียมสยาม การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย และผู้รับเหมาก่อสร้างคือ บริษัท ช.การช่าง จำกัด (มหาชน) จึงตกลงร่วมกันที่จะก่อสร้างทางขึ้น-ลงที่ 1 ในรูปแบบการตัดหลังคาออกไป โดยระหว่างการก่อสร้างได้มีการเพิ่มบ่อพักน้ำฝนและเพิ่มท่อระบายน้ำบริเวณที่เป็นโซนพื้นที่กลางแจ้งของสถานี รวมถึงได้มีการติดตั้งบันไดเลื่อนแบบใช้งานกลางแจ้งเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาไฟฟ้ารั่วหรือลัดวงจรแก่ผู้มาใช้บริการ

การออกแบบภายใน ใช้รูปแบบสถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ออกแบบโดย รศ.ดร. ภิญโญ สุวรรณคีรี ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ให้ความรู้สึกเหมือนเป็นท้องพระโรงในสมัยรัตนโกสินทร์ มีการประดับด้วยเสาสดุมภ์ ที่ตั้งตระหง่านอยู่ระหว่างทางเดิน ลงลายกระเบื้องเป็นดอกพิกุล ปลายเสาประดับด้วยบัวจงกลปิดทองคำเปลว พื้นและผนังจำลองมาจากกำแพงเมือง ประดับด้วยเสาเสมาของพระบรมมหาราชวัง เพดานเป็นลายฉลุแบบดาวล้อมเดือน ปิดทองคำเปลว[1] นอกจากนี้ยังมีการจัดนิทรรศการ แสดงวัตถุโบราณที่ขุดพบ เช่น ฐานรากของพระราชวังของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี

ระบบปรับอากาศ ไว้ด้านข้างแทนการวางด้านบน ทำให้สถานีนี้มีเพดานสูงกว่าสถานีอื่น[2]

การขุดพบโบราณวัตถุ

ในช่วงการก่อสร้างสถานี ผู้รับเหมาก่อสร้างตามสัญญาที่ 2 (โครงสร้างใต้ดินช่วงสนามไชย - ท่าพระ) คือ บริษัท ช.การช่าง จำกัด (มหาชน) ได้มีการขุดเจอวัตถุโบราณระหว่างการก่อสร้างกำแพงกันดิน (Retaining Wall) ในชั้นดินเป็นจำนวนมาก อาทิ ตุ๊กตาดินเผา ถ้วย ชาม กระเบื้องดินเผา สมัยพุทธศตวรรษที่ 24–25 ทั้งภาษาไทยและภาษาจีน ปืนโลหะ ความยาว 14.5 ซม. สลักวลีว่า MEMENTO MORI ซึ่งมีความหมายว่า Remember you will die นอกจากนั้นยังพบเหรียญโลหะสมัยรัชกาลที่ 4-5 เช่น เหรียญโลหะวงกลม มีตราจักร มูลค่า 1 สตางค์ เหรียญโลหะวงกลม พิมพ์อักษรสยามรัฐ มูลค่า 1 สตางค์ เหรียญโลหะ มีตรามหามงกุฎ อีกด้านพิมพ์ลายจักรภายในมีช้าง เป็นต้น ยังขุดพบ คลองราก หรือฐานรากโครงสร้างพระราชวังโบราณ ทำให้ทราบวิธีการก่อสร้างพระราชวังโบราณ[3] การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยและผู้รับเหมาจึงได้ดำเนินการส่งมอบวัตถุโบราณให้กรมศิลปากร และมิวเซียมสยาม นำไปเก็บรักษาและสืบหาที่มาของวัตถุ พร้อมทั้งปรับแบบของสถานีสนามไชยให้มีพื้นที่จัดแสดงวัตถุโบราณก่อนลงไปยังพื้นที่ของสถานี[4]

แผนผังสถานี

G
ระดับถนน
- ป้ายรถประจำทาง, มิวเซี่ยมสยาม, โรงเรียนวัดราชบพิธ
โรงเรียนราชินี, สน.พระราชวัง, ปากคลองตลาด
วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
B1
ทางเดินระหว่างชั้นระดับถนน กับ ชั้นขายตั๋วโดยสาร
ชั้น Subway ชั้นคั่นกลาง ระหว่างระดับถนน กับ ชั้นขายตั๋วโดยสาร
B2
ชั้นขายบัตรโดยสาร
ชั้นขายบัตรโดยสาร ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร
พื้นที่แสดงวัตถุโบราณ ที่ถูกค้นพบระหว่างการก่อสร้างสถานี (เฉพาะทางออก 1), ทางเดินลอดถนน ,ทางออก 1-5
B3
ทางเดินระหว่างชั้นขายบัตรโดยสาร กับ ชั้นชานชาลา
ชั้น Plant ชั้นคั่นกลาง ระหว่างชั้นขายบัตรโดยสาร กับ ชั้นชานชาลา
B4
ชานชาลา
ชานชาลา 2 แม่แบบ:BTS Lines มุ่งหน้า สถานีท่าพระ (ผ่าน สถานีบางซื่อ)
ชานชาลาเกาะกลาง, ประตูรถจะเปิดทางด้านขวา
ชานชาลา 1 แม่แบบ:BTS Lines มุ่งหน้า สถานีหลักสอง

รายละเอียดสถานี

รูปแบบของสถานี

เป็นชานชาลาแบบเกาะกลาง (Station with Central Platform) โดยชั้นออกบัตรโดยสารตกแต่งโดยใช้สถาปัตยกรรมรัตนโกสินทร์ตอนต้น ออกแบบโดยรองศาสตราจารย์ ดร. ภิญโญ สุวรรณคีรี

ทางเข้า-ออกสถานี

  • 1 มิวเซียม สยาม, พระบรมมหาราชวัง, วัดพระศรีรัตนศาสดาราม, วัดโพธิ์ (ลิฟต์)
  • 2 โรงเรียนวัดราชบพิธ (ลิฟต์)
  • 3 สถานีตำรวจนครบาลพระราชวัง
  • 4 ปากคลองตลาด
  • 5 ท่าเรือราชินี, โรงเรียนราชินี

การจัดพื้นที่ในตัวสถานี

แบ่งเป็น 4 ชั้น ประกอบด้วย

  • G ชั้นระดับถนน (Ground level)
  • B1 ชั้นระหว่างชั้นระดับถนน กับชั้นออกบัตรโดยสาร
  • B2 ชั้นออกบัตรโดยสาร เหรียญโดยสาร และห้องประชาสัมพันธ์ (Concourse level)
  • B3 ชั้นระหว่างชั้นออกบัตรโดยสาร กับชั้นชานชาลา
  • B4 ชั้นชานชาลา (Platform level) ชานชาลา 1 มุ่งหน้าสถานีหลักสอง และชานชาลา 2 มุ่งหน้าสถานีเตาปูน

เวลาให้บริการ

ปลายทาง วัน ขบวนแรก ขบวนสุดท้าย
colspan="7" style="background-color:#แม่แบบ:BTS color;color:white; height:25px" | สายเฉลิมรัชมงคล
BL10 เตาปูน จันทร์ - ศุกร์ 05:51 23:23
เสาร์ - อาทิตย์
นักขัตฤกษ์
06:00 23:23
ขบวนสุดท้ายเชื่อมต่อสายสีม่วง - 22:40
BL38 หลักสอง จันทร์ - ศุกร์ 05:58 00:11
เสาร์ - อาทิตย์
นักขัตฤกษ์
06:00 00:11

รถโดยสารประจำทาง

  • ถนนสนามไชย หน้ามิวเซี่ยมสยาม สาย 3 44 47 48 524
  • ถนนสนามไชย หน้าสวนเจ้าเชตุ สาย 3 6 9 12
  • ถนนมหาราช สาย 9(มุ่งหน้าสถานีรถไฟสามเสน) 47(มุ่งหน้าท่าเรือคลองเตย) 53(วนขวา) 82(มุ่งหน้าบางลำพู) 524(มุ่งหน้าบางเขน)
  • ถนนอัษฎางค์ สาย 8 12 42(วนซ้าย) 73 73ก.
  • รถรับส่งนักศึกษา และบุคลากร อาจารย์ เริ่มต้นที่ MRT สนามไชยทางออกที่ 3 ถึงมธ ท่าพระจันทร์ ข้างหอประชุมศรีบูรพา (เวลาเดินรถ 6.00-10.00 20 นาที 10.00 - 20.00 30 นาที)[5]

สถานที่สำคัญใกล้เคียง

อ้างอิง

สถานีใกล้เคียง

สถานีก่อนหน้า เส้นทางรถไฟ สถานีต่อไป
สถานีสามยอด
มุ่งหน้า สถานีท่าพระ
(ผ่านบางซื่อ)
style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   แม่แบบ:BTS Lines style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   สถานีอิสรภาพ
มุ่งหน้า สถานีหลักสอง

13°44′38″N 100°29′38″E / 13.744°N 100.494°E / 13.744; 100.494