ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษรอาร์วี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
미솔파 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[File:Kilakarai Arabic tombstone.jpg|thumb|จารึกอักษรอาร์วีที่กิลากาไร ซึ่งเป็นหนึ่งในมัสยิดที่เก่าแก่ในอินเดีย]]
[[ไฟล์:Kilakarai Arabic tombstone.jpg|thumb|จารึกอักษรอาร์วีที่กิลากาไร ซึ่งเป็นหนึ่งในมัสยิดที่เก่าแก่ในอินเดีย]]
'''อักษรอาร์วี''' (Arwi (لسان الأروي lisān-ul-arwī หรือ lisān al-arwi; lit. "the Arwi tongue";[1] அரபு-தமிழ் arabu-tamil หรือ Arabo-Tamil) เป็นการเขียน[[ภาษาทมิฬ]]ด้วย[[อักษรอาหรับ]] ได้รับอิทธิพลจาก[[ภาษาอาหรับ]] ใช้โดยชนกลุ่มน้อยมุสลิมใน[[รัฐทมิฬนาฑู]] และ[[ศรีลังกา]] ในมาดราซายังสอนอักษรอาร์วีในหลักสูตร
'''อักษรอาร์วี''' (Arwi (لسان الأروي lisān-ul-arwī หรือ lisān al-arwi; lit. "the Arwi tongue";[1] அரபு-தமிழ் arabu-tamil หรือ Arabo-Tamil) เป็นการเขียน[[ภาษาทมิฬ]]ด้วย[[อักษรอาหรับ]] ได้รับอิทธิพลจาก[[ภาษาอาหรับ]] ใช้โดยชนกลุ่มน้อยมุสลิมใน[[รัฐทมิฬนาฑู]] และ[[ศรีลังกา]] ในมาดราซายังสอนอักษรอาร์วีในหลักสูตร
== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
== อักษร ==
== อักษร ==
อักษรอาร์วีเป็นอักษรอาหรับที่เพิ่มอักษรเข้ามา 13 ตัว ใช้แทนเสียงสระ e และ o และพยัญชนะทมิฬหลายตัวที่ไม่ตรงกับเสียงในภาษาอาหรับ<ref name="tors"/>
อักษรอาร์วีเป็นอักษรอาหรับที่เพิ่มอักษรเข้ามา 13 ตัว ใช้แทนเสียงสระ e และ o และพยัญชนะทมิฬหลายตัวที่ไม่ตรงกับเสียงในภาษาอาหรับ<ref name="tors"/>
[[Image:Image-Arwi.png|thumb|350px|อักษรพิเศษในอักษรอาร์วี]]
[[ไฟล์:Image-Arwi.png|thumb|350px|อักษรพิเศษในอักษรอาร์วี]]
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{reflist|refs=
{{reflist|refs=

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:37, 24 ธันวาคม 2562

จารึกอักษรอาร์วีที่กิลากาไร ซึ่งเป็นหนึ่งในมัสยิดที่เก่าแก่ในอินเดีย

อักษรอาร์วี (Arwi (لسان الأروي lisān-ul-arwī หรือ lisān al-arwi; lit. "the Arwi tongue";[1] அரபு-தமிழ் arabu-tamil หรือ Arabo-Tamil) เป็นการเขียนภาษาทมิฬด้วยอักษรอาหรับ ได้รับอิทธิพลจากภาษาอาหรับ ใช้โดยชนกลุ่มน้อยมุสลิมในรัฐทมิฬนาฑู และศรีลังกา ในมาดราซายังสอนอักษรอาร์วีในหลักสูตร

ประวัติ

อักษรอาร์วีเกิดจากการผสมผสานทางวัฒนธรรมระหว่างชาวอาหรับที่เดินทางมาทางทะเลกับมุสลิมที่พูดภาษาทมิฬในทมิฬนาฑู ใช้เขียนเอกสารในลัทธิซูฟี กฎหมาย ตำรายา ใช้เป็นสะพานสำหรับทมิฬมุสลิมที่จะเรียนภาษาอาหรับ[1] หนังสือของอิหม่ามชาอาฟีและอิหม่ามอาบู ฮานีฟา มีที่เขียนด้วยอักษรอาร์วีเช่นกัน มีการแปลไบเบิลซึ่งเขียนด้วยอักษรอาร์วีใน พ.ศ. 2469 อย่างไรก็ตาม งานเขียนด้วยอักษรอาร์วีสูญหายไปสองช่วงคือในพุทธศตวรรษที่ 21 เมื่อชาวโปรตุเกสมาถึง และในพุทธศตวรรษที่ 25 ซึ่งมีอุตสาหกรรมการพิมพ์เผยแพร่เข้ามา ซึ่งอักษรอาร์วีเป็นอักษรที่ยากต่อการปรับให้เข้ากับการพิมพ์ ปัจจุบัน อักษรอาร์วียังใช้ในกลุ่มชาวทมิฬมุสลิมในอินเดียและชาวมัวร์ในศรีลังกา

อักษร

อักษรอาร์วีเป็นอักษรอาหรับที่เพิ่มอักษรเข้ามา 13 ตัว ใช้แทนเสียงสระ e และ o และพยัญชนะทมิฬหลายตัวที่ไม่ตรงกับเสียงในภาษาอาหรับ[2]

อักษรพิเศษในอักษรอาร์วี

อ้างอิง

  1. 216 th year commemoration today: Remembering His Holiness Bukhary Thangal Sunday Observer – January 5, 2003. Online version accessed on 2009-08-14
  2. Torsten Tschacher (2001). Islam in Tamilnadu: Varia. (Südasienwissenschaftliche Arbeitsblätter 2.) Halle: Martin-Luther-Universität Halle-Wittenberg. ISBN 3-86010-627-9. (Online versions available on the websites of the university libraries at Heidelberg and Halle: http://archiv.ub.uni-heidelberg.de/savifadok/volltexte/2009/1087/pdf/Tschacher.pdf and http://www.suedasien.uni-halle.de/SAWA/Tschacher.pdf).
  • Shu’ayb, Tayka. Arabic, Arwi and Persian in Sarandib and Tamil Nadu. Madras: Imāmul 'Arūs Trust, 1993.

แหล่งข้อมูลอื่น