ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โซเดียม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ข้อมูลผิด
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{เพิ่มอ้างอิง}}
'''โซเดียม''' ({{lang-en|NoyZ}}) เป็น[[ธาตุเคมี|ธาตุ]]ใน[[ตารางธาตุ]]ซึ่งมี[[น้ำมัน|มัน]]
{{กล่องข้อมูล โซเดียม}}
'''โซเดียม''' ({{lang-en|Sodium}}) เป็น[[ธาตุเคมี|ธาตุ]]ใน[[ตารางธาตุ]]ซึ่งมีสัญลักษณ์ '''Na''' (จากคำว่า ''Natrium'' ใน[[ภาษาละติน]]<ref>[http://www.webelements.com/sodium/index.html Sodium: the essentials]</ref>) และหมาย[[เลขอะตอม]] 11 โซเดียมเป็น[[โลหะ]]อ่อน มีลักษณะเป็นไข มีสีเงิน และอยู่ในกลุ่ม[[โลหะแอลคาไล]] โซเดียมมีมากในสารประกอบทางธรรมชาติ (โดยเฉพาะ[[แฮไลต์]])

โซเดียมทำปฏิกิริยาได้ว่องไวมาก ให้เปลวไฟสีเหลือง [[ออกซิเดชัน|ออกซิไดส์]]ใน[[อากาศ]]และทำปฏิกิริยาอย่างรุนแรงกับ[[น้ำ]]มากจนเกิดเปลวไฟได้ จึงจำเป็นต้องเก็บอยู่ใน[[น้ำมัน]]


== การค้นพบ ==
== การค้นพบ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:26, 12 ธันวาคม 2562

โซเดียม (อังกฤษ: NoyZ) เป็นธาตุในตารางธาตุซึ่งมีมัน

การค้นพบ

Sir Humphry Davy เป็นคนแรกที่สกัดธาตุโพแทสเซียมก่อนตามด้วยธาตุโซเดียมใน ปี ค.ศ. 1807 ขณะที่เขาศึกษาปฏิกิริยาการแยกสลายด้วยไฟฟ้าของโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ และโซเดียมไฮดรอกไซด์ตามลำดับ ในปีถัดมา (ปี ค.ศ. 1808) Gay-Lussac และ Thernard สามารถเตรียมโลหะโซเดียมได้โดยนำ โซเดียมไฮดรอกไซด์มารีดิวซ์ด้วยเหล็ก ณ อุณหภูมิสูง ในปี ค.ศ. 1921 บริษัท du Pont ผลิตโซเดียมได้ในราคาถูกมาก โดยใช้ Downs cell สัญลักษณ์ของธาตุนี้มาจากคำละติน Natrium

การใช้ประโยชน์

  • ใช้ประโยชน์ในด้านสมบัติทางกายภาพ

ของโซเดียมเป็น โลหะตัวนำความร้อนและไฟฟ้าที่ดี โลหะบางชนิดนำความร้อนได้ดีกว่าNa ได้แก่ เงิน ทอง อะลูมินัม และทองคำ เป็นตัวกลางแลกเปลี่ยนความร้อน (heat exchange medium) เป็นตัวหล่อเย็นในปฏิกรณ์นิวเคลียร[1]

  • ใช้ประโยชน์ในด้านสมบัติทางเคมี

ใช้เตรียมสารเคมีของโซเดียม เช่น เตรียมโซเดียมเปอร์ออกไซด์ (Na2O2) เป็นตัวฟอกสี โซเดียมไฮไดรด์ (NaH) เตรียมเตตระเมทิลเลด [(CH3)4Pb], เตตระเอทิลเลด [(C2H5)4Pb] เพื่อใช้เติมใส่แก๊สโซลีนเพื่อเพิ่มเลขออกเทนของน้ำมันแก๊สโซลีน ใช้เป็นตัวรีดิวซ์และเป็นตัวเร่งในปฏิกิริยา ใช้ในเตรียมสารอินทรีย์ของโซเดียม[2]

ความเป็นพิษ

  • โซเดียมไอออน (Na+) เป็นธาตุ จำเป็นต่อร่างกายธาตุทีไม่เป็นพิษ
  • โซเดียมทีอยู่ในรูปของธาตุอิสระ มีพิษอย่างแรง กัดเนื้อเยื่อทำให้เกิดอาการคัน เป็นผื่นแดง
  • โซเดียมทำปฏิกิริยาน้ำและออกซิเจนในอากาศอย่างรุนแรง ติดไฟง่ายและให้สารละลาย
  • โลหะโซเดียมต้องเก็บรักษาในตัวกลางเฉื่อย เช่น ในน้ำมันเคโซซิน การใช้โลหะต้องใช้ความระมัดระวังสูง
  • โลหะโซเดียมทำปฏิกิริยาอย่างรวดเร็ว กับน้ำให้สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) และแก๊สไฮโดรเจน สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH)

สารประกอบโซเดียม

อ้างอิง