ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พัชรินทร์ มั่นปาน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sodacan (คุย | ส่วนร่วม)
vector version available (GlobalReplace v0.6.5)
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
บอต: แทนที่หมวดหมู่ สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.ช. ด้วย ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.ช.
บรรทัด 41: บรรทัด 41:
{{เกิดปี|2502}}
{{เกิดปี|2502}}
{{มีชีวิต}}
{{มีชีวิต}}

[[หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดราชบุรี‎]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดราชบุรี]]
[[หมวดหมู่:ครูชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:ครูชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:นักการเมืองสตรีชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:นักการเมืองสตรีชาวไทย]]
บรรทัด 48: บรรทัด 49:
[[หมวดหมู่:พรรคมหาชน]]
[[หมวดหมู่:พรรคมหาชน]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.ช.]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.ช.]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.ม.]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.ม.]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๔]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๔]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:40, 29 พฤศจิกายน 2562

พัชรินทร์ มั่นปาน
ไฟล์:พัชรินทร์ มั่นปาน.jpg
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด1 ธันวาคม พ.ศ. 2502 (64 ปี)
จังหวัดราชบุรี
ศาสนาพุทธ
พรรคการเมืองมหาชน

นางพัชรินทร์ มั่นปาน เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปไตยใหม่[1] ปัจจุบันสังกัดพรรคมหาชน

ประวัติ

พัชรินทร์ มั่นปาน เกิดเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2502 ที่อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี เป็นบุตรของนายสมศักดิ์ กับนางทองดี มั่นปาน สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ด้านภาษาไทย และปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการศึกษา จากมหาวิทยาลัยบูรพา

ด้านชีวิตครอบครัว ได้หย่าขาดจากคู่สมรสแล้ว มีบุตร 2 คน[2]

การทำงาน

พัชรินทร์ มั่นปาน รับราชการครูตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 กระทั่งในปี พ.ศ. 2549 ได้ลาออกจากราชการในตำแหน่งสุดท้าย คือ ครูชำนาญการ (ค.ศ. 2) โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๔ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2554 ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปไตยใหม่ ซึ่งเป็นพรรคขนาดเล็ก แต่ในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2554 พรรคฯ ได้รับเลือกตั้งอย่างเหนือความคาดหมาย[3] และได้สมาชิกจำนวน 1 คน ซึ่งนายสุรทิน หัวหน้าพรรค ถูกศาลสั่งเป็นบุคคลล้มละลาย[4] ส่งผลให้นางพัชรินทร์ ได้เลื่อนขึ้นมาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแทน

ต่อมาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557 เธอได้ย้ายมาสังกัดพรรคมหาชน และลงสมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในระบบบัญชีรายชื่อ[5]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ (ครั้งที่ 4)
  2. บัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของนางพัชรินทร์ มั่นปาน
  3. เจาะใจ "สุรทิน"พรรค"ปธม." เคาะประตูบ้านเรียกคะแนนแบบถึงลูกถึงคน หลังอาศัยวัด-ข้าวก้นบาตรช่วงหาเสียง จากมติชน
  4. ประชาธิปไตยใหม่ จี้กกต. รับรอง “พัชรินทร์ มั่นปาน”
  5. ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง รายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ (พรรคมหาชน)
  6. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๕๖
  7. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๕๕, เล่ม ๑๒๙, ตอน ๓๕ ข , ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕