ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จู ซี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Espeerasin (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มแหล่งอ้างอิง
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Espeerasin (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 39: บรรทัด 39:
==วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ==
==วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ==


==สำนักเต๋าใหม่==
==แนวคิดเต๋าของสำนักหลักการ==

สำหรับจูซีแล้ว "การรักษาหลักการดั้งเดิมของธรรมชาติ และตัดความปรารถนาของมนุษย์" เป็นสาระสำคัญของสำนักขงจื่อ เขาได้กล่าวว่า "คำสอนของปราชญ์ทั้งหลายทั้งปวงนั้น ต้องการให้เราเข้าใจหลักการในธรรมชาติ ละความปรารถนาของตน"

ทฤษฎีทางสังคมการเมืองของสำนักหลักการ เป็นทฤษฎีที่นำลัทธิเต๋ามาปฏิบัติจริงในสังคม จูซีมองว่าคุณค่าของเต๋านั้นมีความหมายแฝงว่า "สามแบบอย่าง ห้าคุณธรรม"(三纲五常) มีเพียงการฝึกตนจนเป็นผู้มีมนุษยธรรม เช่นนี้คุณค่าของลัทธิขงจื่อก็กลายเป็นเสาหลักทางจิตวิญญาณที่แท้จริงของตนเอง ซึ่งนับว่าบรรลุเต๋าแล้ว<ref>{{Cite book|title=普通高中课程标准实验教科书·历史必修·第三册|isbn=9787010044316|location=|pages=第15页}}</ref>


==ปรัชญาในระบบราชการ==
==ปรัชญาในระบบราชการ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:54, 27 พฤศจิกายน 2562

จูซี
ยุคปรัชญาสมัยโบราณ
แนวทางปรัชญาจีน
ความสนใจหลัก
ปรัชญาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติสำนักเต๋าใหม่
แนวคิดเด่น
存天理、灭人欲


จูซี (จีน: 朱熹 18 ตุลาคม 1130 – 23 เมษายน 1200) เป็นนักปรัชญาลัทธิขงจื่อในสมัยราชวงศ์ซ่ง เขาเป็นนักวิชาการที่สอนอย่างมีหลักการและสมเหตุสมผลที่สุด เขาได้เขียนตำราอธิบายคำสอนของขงจื่อไว้ ซึ่งต่อมาเป็นพื้นฐานของระบบราชการจีนและรัฐบาลมานานกว่า 700 ปี

จูซีเป็นชาวตำบลอู้หยวน เมืองฮุยโจว ซึ่งทางตะวันออกของแดนเจียงหนาน(ปัจจุบันคือ มณฑลเจียงซี) เขาเกิดที่ตำบลหลงซี มณฑลฝูเจี้ยน (ปัจจุบันคือ ตำบลหลงไห่ เมืองจางโจว มณฑลฝูเจี้ยน) จูซีมีอีกนามว่า "อาจารย์จื่อหยาง"(紫阳先生) ฉายา "จูเหวินกง"(朱文公) จูซีเป็นนักปรัชญาสำนักหลักการเฉิง-จูในสมัยราชวงศ์ซ่งใต้ ซึ่งได้รวบรวมตำราสำคัญของสำนักเอาไว้ จึงได้รับการขนานนามว่า "จูจื่อ"

จูซีเป็นลูกศิษย์รุ่นที่สามของเฉิงฮ่าวและเฉิงอี๋ ครอบครัวเขามีฐานะยากจน ทว่าตั้งแต่เด็กเขามีความฉลาดหลักแหลม จึงทำให้เขาสามารถสอบรับราชการในปีที่ 18 ของเมืองเช่าซิงได้ และทำงานรับใช้จักรพรรดิถึง 4 รัชสมัย เขาได้สอนหนังสือที่โรงเรียนอวิ๋นกู่เจี๋ยฉ่าวในเมืองเจี้ยนหยางซึ่งมีอีกชื่อหนึ่งว่า "ฮุ่ยอาน"(晦氨) สำนักหลักการได้ตั้งชื่อให้ว่า "วิทยาลัยข่าวถิง" หรือเรียกอีกอย่างว่า "โรงเรียนข่าวถิง"

จูซีได้สนับสนุนทฤษฎีโจวตุนอี๋ โดยสร้างรูปแบบการศึกษาวิจัยทางด้านปรัชญาในสมัยราชวงศ์ซ่ง จนตกผลึกเป็นสำนักหลักการ(理学) และกำหนดให้ "หนังสือสี่เล่ม"(四书) อันได้แก่ "หลุนอวี่"(论语), "เมิ่งจื่อ"(孟子), "ต้าเสว"(大学) และ "จงยง"(中庸) เป็นตำราเรียนหลักเอาไว้สำหรับสอบรับราชการในยุคต่อมา นักวิชาการของจีนเห็นว่าเขาได้สร้างระบบความคิดแบบอุดมคตินิยมอันเป็นภววิสัยที่สมบูรณ์[1]

ประวัติ

จูซีเกิดเมื่อวันที่ 15 เดือน 9 ปีเกิงชู่ รัชศกเจี้ยนเหยียนปีที่ 4 (ค.ศ.1130) สมัยราชวงศ์ซ่ง ที่สำนักฉ่าวแห่งตระกูลเจิ้ง(วิทยาลัยหนานซี) แห่งตำบลโยวซี มณฑลฝูเจี้ยน เขาเป็นลูกหลานรุ่นที่ 9 ของจูหวน(เจ้าของโรงน้ำชา)[2] เดิมเป็นนายทะเบียนแห่งตำบลอู้หยวน เมืองฮุยโจว(เดิมเป็นส่วนหนึ่งของมณฑลอันฮุย พอปี ค.ศ.1952 ได้ผนวกเป็นส่วนหนึ่งของมณฑลเจียงซี)

จูซีเข้าศึกษาตั้งแต่ตอนอายุ 5 ขวบ เขาสามารถท่อง "คัมภีร์เซี่ยวจิง"(孝经) [3] ได้ อายุ 18 ปี ... อายุ 19 ปี รับตำแหน่งเป็นขุนนางผู้ช่วยท่านอ๋อง ในเดือนที่ 10 ของรัชศกเช่าซิงปีที่ 5 เขาได้รับตำแหน่งต้ายจื้อ(待制)และชื่อเจี่ยง(侍讲)แห่งสำนักฮว่านจาง [4] ในฤดูใบไม้ผลิของรัชศกเช่าซิงปีที่ 20 (ค.ศ.1149) เขาได้กลับบ้านเกิดร่วมพิธีฝังศพ และกู้คืนที่นามานับร้อยหมู่(亩) โดยอ้างว่าที่นาผืนนี้ใช้จัดพิธีสำหรับโรงน้ำชาของตระกูลจู[5] เมื่ออายุ 22 ปี เขาได้รับตำแหน่งเป็นขุนนางตี๋กงฝ่ายซ้าย(左迪功郎) เขาได้รับนำหน้าที่เป็นนายทะเบียนแห่งตำบลถงอัน เมืองเฉวียนโจว เป็นขุนนางถึง 48 ปี โดยเริ่มเป็นขุนนางท้องถิ่น 9 ปี แล้วรับตำแหน่งชื่อเจี่ยงในราชสำนักเป็นเวลา 40 วัน และรับตำแหน่งเป็นต้ายจื้อแห่งสำนักเป่าเหวิน ในระหว่างนั้นเขาอนุญาตให้เปิดเมืองอู้หยวน แจกอาหารให้ชาวบ้าน 300 ครัวเรือน และได้บูรณะสำนักให้ทันสมัยขึ้น

สำนักหลักการ

วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ

แนวคิดเต๋าของสำนักหลักการ

สำหรับจูซีแล้ว "การรักษาหลักการดั้งเดิมของธรรมชาติ และตัดความปรารถนาของมนุษย์" เป็นสาระสำคัญของสำนักขงจื่อ เขาได้กล่าวว่า "คำสอนของปราชญ์ทั้งหลายทั้งปวงนั้น ต้องการให้เราเข้าใจหลักการในธรรมชาติ ละความปรารถนาของตน"

ทฤษฎีทางสังคมการเมืองของสำนักหลักการ เป็นทฤษฎีที่นำลัทธิเต๋ามาปฏิบัติจริงในสังคม จูซีมองว่าคุณค่าของเต๋านั้นมีความหมายแฝงว่า "สามแบบอย่าง ห้าคุณธรรม"(三纲五常) มีเพียงการฝึกตนจนเป็นผู้มีมนุษยธรรม เช่นนี้คุณค่าของลัทธิขงจื่อก็กลายเป็นเสาหลักทางจิตวิญญาณที่แท้จริงของตนเอง ซึ่งนับว่าบรรลุเต๋าแล้ว[6]

ปรัชญาในระบบราชการ

ความศรัทธาในศาสนา

การประเมินคุณค่า

ความสำเร็จในการเขียนอักษรจีน

ผลงานชิ้นสำคัญ

อ่านเพิ่ม

  • J. Percy Bruce. Chu Hsi and His Masters, Probsthain & Co., London, 1922.
  • Daniel K. Gardner. Learning To Be a Sage, University of California Press, Berkeley, 1990. ISBN 0-520-06525-5.
  • Bruce E. Carpenter. 'Chu Hsi and the Art of Reading' in Tezukayama University Review (Tezukayama daigaku ronshū), Nara, Japan, no. 15, 1977, pp. 13–18. ISSN 0385-7743
  • Wing-tsit Chan, Chu Hsi: Life and Thought (1987). ISBN 0-312-13470-3.
  • Wing-tsit Chan, Chu Hsi: New Studies. University of Hawaii Press: 1989. ISBN 978-0-8248-1201-0
  • Gedalecia, D (1974). "Excursion Into Substance and Function." Philosophy East and West. vol. 4, 443-451.
  • Hoyt Cleveland Tillman, Utilitarian Confucianism: Ch‘en Liang's Challenge to Chu Hsi (1982)
  • Wm. Theodore de Bary, Neo-Confucian Orthodoxy and the Learning of the Mind-and-Heart (1981), on the development of Zhu Xi's thought after his death
  • Wing-tsit Chan (ed.), Chu Hsi and Neo-Confucianism (1986), a set of conference papers
  • Donald J. Munro, Images of Human Nature: A Sung Portrait (1988), an analysis of the concept of human nature in Zhu Xi's thought

แหล่งข้อมูลอื่น

  1. 金觀濤著,《興盛與危機》:“朱熹的深刻之處在於,把孔孟置於正宗,同時又把董仲舒陰陽五行觀、王充對董仲舒的目的論的批判,把張載以及周敦頤、二程的觀點,以及佛學高度一元化的哲學和道家的思辨精神,統統加以整理,小心而細緻地構造出內容精深的新儒學體系。儒學世界觀、方法論薄弱的短處被克服了,歷史經過了一千年。萬物起源皆出於理,理生氣,氣生萬物,理又規定了儒家倫理道德的合理性。理學的出現大大鞏固了儒學在中國封建社會中作為指導思想的地位,使佛、道等學說再也不會動搖它了。宋以後七百年間,理學一直被奉為正統,與宗法一體化結構十分適應,封建王朝的控制能力也增強了。”《興盛與危機•第八章:意識形態結構的系統分析》
  2. 《朱子文集大全類編》卷一《支派源流》:“一世茶院公諱瓌,字古僚,號舜臣,其先吳郡人。唐廣明間,黃巢作亂,避地歙之黃墩。天中佑中,以刺史陶雅命,總卒三千,戍婺源而督其征賦,巡轄浮梁、德、興、祁門四縣,民賴以安,因家婺源,是為婺源朱氏始祖。”
  3. 真德秀《西山讀書記》卷三十一錄李方子《紫陽年譜》載,“先生幼有異稟,五歲入小學,始誦《孝經》,即了其大義,書八字於其上曰:‘若不如此,便不成人。’間從群兒嬉遊,獨以沙列八卦象,詳觀側玩。又嘗指日問於吏部曰:‘日何所附?’曰:‘附於天’。又問:‘天何所附?’吏部奇之。”
  4. 《南宋館閣續錄》卷九《官聯》三:“朱熹,字元晦,徽州婺源人。紹興十八年王佐榜同進士出身,治《易》。五年十月 煥章閣待制兼侍講。”
  5. 王懋竑纂訂,《朱子年譜》,卷一
  6. 普通高中课程标准实验教科书·历史必修·第三册. pp. 第15页. ISBN 9787010044316.