ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อ็อทโทที่ 1 มหาราช"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8276748 สร้างโดย OctraBot (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ฟรังโกเนีย" → "ฟรังเคิน" +แทนที่ "โลธาริงเกีย" → "โลทริงเงิน" +แทนที่ "อาสนวิร" → "อาสนวิหาร" +แทนที่ "อาเดอไลเดอ" → "อาเดลาอีด" +แทนที่ "อาเดลาอีเด" → "อาเดลาอีด" +แทนที่ "แมกยาร์" → "มัจยาร์" +แทนที่ "อาร์ชบิชอป" → "อัครมุขนายก" ด้วยสจห.
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
| house = อ็อทโท
| house = อ็อทโท
| house-type = ราชวงศ์
| house-type = ราชวงศ์
|spouse=[[Eadgyth|แอดกิธแห่งอังกฤษ]] (930–946)<br>อาเดลาอีเดแห่งอิตาลี (951–973)
|spouse=[[Eadgyth|แอดกิธแห่งอังกฤษ]] (930–946)<br>[[อาเดลาอีดแห่งบูร์กอญ]] (951–973)
|issue=
|issue=
| father = [[พระเจ้าไฮน์ริชที่ 1 แห่งเยอรมนี|พระเจ้าไฮน์ริชที่ 1]]
| father = [[พระเจ้าไฮน์ริชที่ 1 แห่งเยอรมนี|พระเจ้าไฮน์ริชที่ 1]]
บรรทัด 41: บรรทัด 41:
{{ใช้ปีคศ|width=264px}}
{{ใช้ปีคศ|width=264px}}


'''อ็อทโทที่ 1 มหาราช''' ({{lang-de|Otto I. der Große}})<ref>Otto I, Holy Roman Emperor[http://www.answers.com/topic/otto-i-holy-roman-emperor]</ref> ทรงเป็นกษัตริย์แห่ง[[อาณาจักรแฟรงก์ตะวันออก]] (ชื่อเรียกบริเวณที่เป็นประเทศเยอรมนีในยุคนั้น) ในปี ค.ศ. 936 และทรงเป็น[[จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]ตั้งแต่ปี ค.ศ. 962 จนสวรรคตในปี ค.ศ. 973 ทรงเป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ใน[[พระเจ้าไฮน์ริชที่ 1 แห่งเยอรมนี|พระเจ้าไฮน์ริชที่ 1]]กับพระนางมาทิลเดอแห่งริงเงิลไฮม์
'''อ็อทโทที่ 1 มหาราช''' ({{lang-de|Otto I. der Große}})<ref>Otto I, Holy Roman Emperor[http://www.answers.com/topic/otto-i-holy-roman-emperor]</ref> ทรงเป็นกษัตริย์แห่ง[[อาณาจักรแฟรงก์ตะวันออก]] (ชื่อเรียกบริเวณที่เป็นประเทศเยอรมันในยุคนั้น) ในปี ค.ศ. 936 และทรงเป็น[[จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]ตั้งแต่ปี ค.ศ. 962 จนสวรรคตในปี ค.ศ. 973 ทรงเป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ใน[[พระเจ้าไฮน์ริชที่ 1 แห่งเยอรมนี|พระเจ้าไฮน์ริชที่ 1]]กับพระนางมาทิลเดอแห่งริงเงิลไฮม์


พระองค์ได้ขึ้นสืบบัลลังก์แห่ง[[ดัชชีซัคเซิน]]และบัลลังก์เยอรมันภายหลังที่พระราชบิดาสวรรคตในปี ค.ศ. 936 และออกพระนามว่า '''พระเจ้าอ็อทโทที่ 1 แห่งเยอรมนี''' เมื่อขึ้นครองราชสมบัติแล้วพระองค์ก็เจริญรอยตามพระปณิธานของพระราชบิดาที่จะรวบรวมแผ่นดินของชนเยอรมันให้เป็นหนึ่งเดียวอีกครั้ง พระราชอำนาจของพระองค์แผ่ขยายไปอย่างกว้างไกลผ่านชั้นเชิงการเมืองที่เยี่ยมยอด ไม่ว่าจะด้วยวิธีแต่งงานทางการเมืองหรือการแต่งตั้งสมาชิกพระราชวงศ์ของพระองค์ไปปกครองดัชชีและดินแดงต่างๆ นโยบายของพระองค์ได้ลดอำนาจและจำนวนดยุกลงไปมาก ซึ่งแต่ก่อนทำหน้าที่ปกครองดินแดนร่วมกับกษัตริย์ ดยุกจำนวนมากแปรสถานะจากผู้ปกครองอิสระมาเป็นผู้ปกครองใต้พระราชอำนาจของพระองค์ นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงนำศาสนจักร[[โรมันคาทอลิก]]เข้ามาสู่อาณาจักรเพื่อเสริมสร้างพระราชอำนาจของพระองค์
พระองค์ได้ขึ้นสืบบัลลังก์แห่ง[[ดัชชีซัคเซิน]]และบัลลังก์เยอรมันภายหลังที่พระราชบิดาสวรรคตในปี ค.ศ. 936 และออกพระนามว่า '''พระเจ้าอ็อทโทที่ 1 แห่งเยอรมนี''' เมื่อขึ้นครองราชสมบัติแล้วพระองค์ก็เจริญรอยตามพระปณิธานของพระราชบิดาที่จะรวบรวมแผ่นดินของชนเยอรมันให้เป็นหนึ่งเดียวอีกครั้ง พระราชอำนาจของพระองค์แผ่ขยายไปอย่างกว้างไกลผ่านชั้นเชิงการเมืองที่เยี่ยมยอด ไม่ว่าจะด้วยวิธีแต่งงานทางการเมืองหรือการแต่งตั้งสมาชิกพระราชวงศ์ของพระองค์ไปปกครองดัชชีและดินแดงต่างๆ นโยบายของพระองค์ได้ลดอำนาจและจำนวนดยุกลงไปมาก ซึ่งแต่ก่อนทำหน้าที่ปกครองดินแดนร่วมกับกษัตริย์ ดยุกจำนวนมากแปรสถานะจากผู้ปกครองอิสระมาเป็นผู้ปกครองใต้พระราชอำนาจของพระองค์ นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงนำศาสนจักร[[โรมันคาทอลิก]]เข้ามาสู่อาณาจักรเพื่อเสริมสร้างพระราชอำนาจของพระองค์


หลังทรงจัดการสงครามกลางเมืองระหว่างดัชชีต่างๆได้ พระองค์ก็สามารถมีชัยเหนือพวกแมกยาร์ (ฮังการี) ในยุทธการที่เลชเฟิลด์ ค.ศ. 955 ได้ ทำให้ยุโรปตะวันตกพ้นภัยจากการรุกรานของฮังการี{{sfn|Reuter|1991|p=254}} นอกจากนี้ การมีชัยเหนือพวกฮังการี[[ลัทธินอกศาสนา|นอกศาสนา]]ยังทำให้พระองค์มีชื่อเสียงขึ้นมาอย่างมากในฐานะ "ผู้กอบกู้แห่งคริสตจักร" ต่อมาในปี ค.ศ. 961 พระองค์สามารถพิชิต[[ราชอาณาจักรอิตาลี]] และขยายดินแดนของพระองค์ไปทางเหนือ, ตะวันออก และใต้ ในปีค.ศ. 962 พระองค์ทรงราชาภิเษกขึ้นเป็นจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ โดยให้พระสันตะปาปาสวมมงกุฎให้ในกรุงโรม เหมือนอย่างที่[[ชาร์เลอมาญ]]เคยทำ
หลังทรงจัดการสงครามกลางเมืองระหว่างดัชชีต่างๆได้ พระองค์ก็สามารถมีชัยเหนือพวกมัจยาร์ (ฮังการี) ในยุทธการที่เลชเฟิลด์ ค.ศ. 955 ได้ ทำให้ยุโรปตะวันตกพ้นภัยจากการรุกรานของฮังการี{{sfn|Reuter|1991|p=254}} นอกจากนี้ การมีชัยเหนือพวกฮังการี[[ลัทธินอกศาสนา|นอกศาสนา]]ยังทำให้พระองค์มีชื่อเสียงขึ้นมาอย่างมากในฐานะ "ผู้กอบกู้แห่งคริสตจักร" ต่อมาในปี ค.ศ. 961 พระองค์สามารถพิชิต[[ราชอาณาจักรอิตาลี]] และขยายดินแดนของพระองค์ไปทางเหนือ, ตะวันออก และใต้ ในปีค.ศ. 962 พระองค์ทรงราชาภิเษกขึ้นเป็นจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ โดยให้พระสันตะปาปาสวมมงกุฎให้ในกรุงโรม เหมือนอย่างที่[[ชาร์เลอมาญ]]เคยทำ


== ประวัติศาสตร์ก่อนหน้า ==
== ประวัติศาสตร์ก่อนหน้า ==
หลังจักรพรรดิชาร์เลอมาญสวรรคตในปี ค.ศ. 814 จักรวรรดิของพระองค์ถูกแบ่งออก จักรพรรดิคนท้ายๆ ของราชวงศ์การอแล็งเฌียงมีอำนาจเพียงแค่ในอิตาลีเหนือและอิตาลีกลาง เบเรงการ์แห่งฟรีอูลี จักรพรรดิคนสุดท้ายของราชวงศ์การอแล็งเฌียงถูกฆาตกรรมในปี ค.ศ. 924 ตำแหน่งจึงตกเป็นของกษัตริย์ของชาวแฟรงก์ตะวันออกที่ต่อมากลายเป็นกษัตริย์แห่งเยอรมนี ในปี ค.ศ. 919 บรรดาดยุกในเยอรมันได้เลือกไฮน์ริชพรานล่านก ดยุกแห่งซัคเซินได้รับเลือกเป็นกษัตริย์และสกัดกั้น[[ชาวฮังการี|ชาวมัจยาร์]], [[ชาวสลาฟ]] และ[[ชนเดนส์|ชาวเดน]]ไว้ได้

หลังจักรพรรดิชาร์เลอมาญสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 814 จักรวรรดิของพระองค์ถูกแบ่งออก จักรพรรดิคนท้ายๆ ของราชวงศ์การอแล็งเฌียงมีอำนาจเพียงแค่ในอิตาลีเหนือและอิตาลีกลาง เบเรงการ์แห่งฟรีอูลี จักรพรรดิคนสุดท้ายของราชวงศ์การอแล็งเฌียงถูกฆาตกรรมในปี ค.ศ. 924 ตำแหน่งจึงตกเป็นของกษัตริย์ของชาวแฟรงก์ตะวันออกที่ต่อมากลายเป็นกษัตริย์แห่งเยอรมนี ในปี ค.ศ. 919 บรรดาดยุกในเยอรมนีได้เลือกไฮน์ริชพรานล่านก ดยุกแห่งซัคเซินได้รับเลือกเป็นกษัตริย์และสกัดกั้น[[ชาวฮังการี|ชาวแมกยาร์]], [[ชาวสลาฟ]] และ[[ชนเดนส์|ชาวเดน]]ไว้ได้


== ก่อนครองบัลลังก์ ==
== ก่อนครองบัลลังก์ ==
บรรทัด 60: บรรทัด 59:
[[ไฟล์:Aachener Dom BW 2016-07-09 13-53-18.jpg|thumb|ภาพมุมข้างของบัลลังก์ชาร์เลอมาญใน[[อาสนวิหารอาเคิน]]ที่พระเจ้าอ็อทโทเข้ารับการสวมมงกุฎเป็นกษัตริย์ในปี ค.ศ. 936]]
[[ไฟล์:Aachener Dom BW 2016-07-09 13-53-18.jpg|thumb|ภาพมุมข้างของบัลลังก์ชาร์เลอมาญใน[[อาสนวิหารอาเคิน]]ที่พระเจ้าอ็อทโทเข้ารับการสวมมงกุฎเป็นกษัตริย์ในปี ค.ศ. 936]]


พระเจ้าไฮน์ริชประกาศให้อ็อทโทเป็นผู้สืบบัลลังก์ของพระองค์ หนึ่งเดือนต่อมาพระเจ้าไฮน์ริชสิ้นพระชนม์ ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 936 ดยุกของเยอรมนีได้เลือกอ็อทโทเป็นกษัตริย์ พระองค์ได้รับการสวมมงกุฎจากอาร์ชบิชอปแห่งไมนทซ์และอาร์ชบิชอปแห่งโคโลญที่[[อาเคิน]] นครซึ่งเคยเป็นที่พำนักโปรดของ[[ชาร์เลอมาญ|จักรพรรดิชาร์เลอมาญ]] พระองค์มีพระชนมายุ 23 พรรษาขณะขึ้นเป็นกษัตริย์
พระเจ้าไฮน์ริชประกาศให้อ็อทโทเป็นผู้สืบบัลลังก์ของพระองค์ หนึ่งเดือนต่อมาพระเจ้าไฮน์ริชสิ้นพระชนม์ ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 936 เหล่าดยุกของเยอรมันได้เลือกอ็อทโทเป็นกษัตริย์ พระองค์ได้รับการสวมมงกุฎจากอัครมุขนายกแห่งไมนทซ์และอัครมุขนายกแห่งโคโลญที่[[อาเคิน]] นครซึ่งเคยเป็นที่พำนักโปรดของ[[ชาร์เลอมาญ|จักรพรรดิชาร์เลอมาญ]] พระองค์มีพระชนมายุ 23 พรรษาขณะขึ้นเป็นกษัตริย์


== กษัตริย์แห่งเยอรมนี ==
== กษัตริย์แห่งเยอรมนี ==
[[ไฟล์:Central Europe, 919-1125.jpg|left|thumb|[[ยุโรปกลาง]]ในช่วงปี ค.ศ. 919–1125 [[ราชอาณาจักรเยอรมนี]]ประกอบด้วย[[ดัชชีซัคเซิน]] (เหลือง), [[ดัชชีฟรังโกเนีย]] (ฟ้า), [[ดัชชีบาวาเรีย]] (เขียว), [[ดัชชีชวาเบิน]] (ส้ม), [[ดัชชีลอแรน]] (ชมพูที่เหลือ)]]
[[ไฟล์:Central Europe, 919-1125.jpg|left|thumb|[[ยุโรปกลาง]]ในช่วงปี ค.ศ. 919–1125 [[ราชอาณาจักรเยอรมนี]]ประกอบด้วย[[ดัชชีซัคเซิน]] (เหลือง), [[ดัชชีฟรังเคิน]] (ฟ้า), [[ดัชชีบาวาเรีย]] (เขียว), [[ดัชชีชวาเบิน]] (ส้ม), [[ดัชชีลอแรน]] (ชมพูที่เหลือ)]]


กษัตริย์หนุ่มต้องการที่จะขึ้นมามีอำนาจเหนือเหล่าดยุกซึ่งพระบิดาของพระองค์ไม่เคยทำได้ นโยบายดังกล่าวก่อให้เกิดความขัดแย้งขึ้นมาในทันที เอเบอร์ฮาร์ดแห่งฟรังโกเนีย, เอเบอร์ฮาร์ดแห่งบาวาเรีย และกลุ่มชาวซัคเซินผู้ไม่พอใจที่มีแธงค์มาร์ พระเชษฐาต่างมารดาของพระเจ้าอ็อทโทเป็นผู้นำเริ่มกระด้างกระเดื่องในปี ค.ศ. 937 แต่ถูกพระเจ้าอ็อทโทกำราบเรียบอย่างรวดเร็ว แธงค์มาร์ถูกสังหาร เอเบอร์ฮาร์ดแห่งบาวาเรียถูกปลดจากตำแหน่ง ส่วนเอเบอร์ฮาร์ดแห่งฟรังโกเนียยอมสวามิภักดิ์ต่อกษัตริย์
กษัตริย์หนุ่มต้องการที่จะขึ้นมามีอำนาจเหนือเหล่าดยุกซึ่งพระบิดาของพระองค์ไม่เคยทำได้ นโยบายดังกล่าวก่อให้เกิดความขัดแย้งขึ้นมาในทันที เอเบอร์ฮาร์ดแห่งฟรังเคิน, เอเบอร์ฮาร์ดแห่งบาวาเรีย และกลุ่มชาวซัคเซินผู้ไม่พอใจที่มีแธงค์มาร์ พระเชษฐาต่างมารดาของพระเจ้าอ็อทโทเป็นผู้นำเริ่มกระด้างกระเดื่องในปี ค.ศ. 937 แต่ถูกพระเจ้าอ็อทโทกำราบเรียบอย่างรวดเร็ว แธงค์มาร์ถูกสังหาร เอเบอร์ฮาร์ดแห่งบาวาเรียถูกปลดจากตำแหน่ง ส่วนเอเบอร์ฮาร์ดแห่งฟรังเคินยอมสวามิภักดิ์ต่อองค์กษัตริย์


แต่การสวามิภักดิ์ของเอเบอร์ฮาร์ดเป็นเพียงการแสดงตบตา ในปี ค.ศ. 939 เขาได้ร่วมกับกิเซลแบร์ตแห่งโลธาริงเกียและ[[ไฮน์ริชที่ 1 ดยุกแห่งบาวาเรีย|ไฮน์ริช]] พระอนุชาของพระเจ้าอ็อทโทก่อกบฎต่อพระเจ้าอ็อทโทโดยมี[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 4 แห่งฝรั่งเศส]]ให้การสนับสนุน ครั้งนี้เอเบอร์ฮาร์ดถูกสังหารในสมรภูมิ ส่วนกิเซลแบร์ตจมน้ำเสียชีวิตขณะกำลังหนี ไฮน์ริชยอมสวามิภักดิ์ต่อกษัตริย์และพระเจ้าอ็อทโทเองก็ให้อภัย ไฮน์ริชที่ยังคงคิดว่าตนเองคือคนที่พระบิดาอยากให้ขึ้นเป็นกษัตริย์ได้สมคบคิดวางแผนฆาตกรรมพระเจ้าอ็อทโทในปี ค.ศ. 941 แผนการถูกเปิดโปงและทุกคนที่ร่วมกันสมคบคิดถูกลงโทษยกเว้นไฮน์ริชที่ได้รับการให้อภัยอีกครั้ง ความเมตตาของพระเจ้าอ็อทโททำให้ไฮน์ริชภักดีต่อพระเชษฐานับตั้งแต่นั้นมาและในปี ค.ศ. 947 พระองค์ได้รับพระราชทานตำแหน่งดยุกแห่งบาวาเรีย ตำแหน่งดยุกของเยอรมนีตำแหน่งอื่นๆ ตกเป็นของเหล่าพระญาติของพระเจ้าอ็อทโท
แต่การสวามิภักดิ์ของเอเบอร์ฮาร์ดเป็นเพียงการแสดงตบตา ในปี ค.ศ. 939 เขาได้ร่วมกับกิเซลแบร์ตแห่งโลทริงเงินและ[[ไฮน์ริชที่ 1 ดยุกแห่งบาวาเรีย|ไฮน์ริช]] พระอนุชาของพระเจ้าอ็อทโทก่อกบฎต่อพระเจ้าอ็อทโทโดยมี[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 4 แห่งฝรั่งเศส]]ให้การสนับสนุน ครั้งนี้เอเบอร์ฮาร์ดถูกสังหารในสมรภูมิ ส่วนกิเซลแบร์ตจมน้ำเสียชีวิตขณะกำลังหนี ไฮน์ริชยอมสวามิภักดิ์ต่อกษัตริย์และพระเจ้าอ็อทโทเองก็ให้อภัย ไฮน์ริชที่ยังคงคิดว่าตนเองคือคนที่พระบิดาอยากให้ขึ้นเป็นกษัตริย์ได้สมคบคิดวางแผนปลงพระชนม์พระเจ้าอ็อทโทในปี ค.ศ. 941 แผนการถูกเปิดโปงและทุกคนที่ร่วมกันสมคบคิดถูกลงโทษยกเว้นไฮน์ริชที่ได้รับการให้อภัยอีกครั้ง ความเมตตาของพระเจ้าอ็อทโททำให้ไฮน์ริชภักดีต่อพระเชษฐานับตั้งแต่นั้นมาและในปี ค.ศ. 947 พระองค์ได้รับพระราชทานตำแหน่งดยุกแห่งบาวาเรีย ส่วนดยุกเยอรมันตำแหน่งอื่นๆ ตกเป็นของเหล่าพระญาติของพระเจ้าอ็อทโท


ในช่วงที่การแก่งแย่งชิงดีภายในดำเนินอยู่นั้น พระเจ้าอ็อทโทได้เสริมความแข็งแกร่งในการป้องกันและได้ขยายขอบเขตอาณาจักรของพระองค์ ทรงปราบ[[ชาวสลาฟ]]ทางฝั่งตะวันออกและได้พื้นที่ส่วนหนึ่งของเดนมาร์กมาอยู่ใต้การปกครอง ทรงตั้งตำแหน่งบิชอปในดินแดนดังกล่าวเพื่อผนึกความเป็นเจ้าประเทศราชของเยอรมนีในดินแดนนั้น โบฮีเมียสร้างปัญหาให้แก่พระเจ้าอ็อทโท แต่พระองค์ก็บีบเจ้าชายโบลสวัฟที่ 1 ให้ยอมจำนนได้ในปี ค.ศ. 950 และบังคับให้จ่ายบรรณาการให้แก่พระองค์ เมื่อฐานในบ้านเกิดแข็งแกร่ง พระเจ้าอ็อทโทไม่เพียงกำจัดการอ้างสิทธิ์ในโลธาริงเกียของฝรั่งเศสได้ แต่พระองค์ยังเข้าไปเป็นตัวลางไกล่เกลี่ยปัญหาภายในของฝรั่งเศสด้วย
ในช่วงที่การแก่งแย่งชิงดีภายในดำเนินอยู่นั้น พระเจ้าอ็อทโทได้เสริมความแข็งแกร่งในการป้องกันและได้ขยายขอบเขตอาณาจักรของพระองค์ ทรงปราบ[[ชาวสลาฟ]]ทางฝั่งตะวันออกและได้พื้นที่ส่วนหนึ่งของเดนมาร์กมาอยู่ใต้การปกครอง ทรงตั้งตำแหน่งบิชอปในดินแดนดังกล่าวเพื่อผนึกความเป็นเจ้าประเทศราชของเยอรมันในดินแดนนั้น โบฮีเมียสร้างปัญหาให้แก่พระเจ้าอ็อทโท แต่พระองค์ก็บีบเจ้าชายโบลสวัฟที่ 1 ให้ยอมจำนนได้ในปี ค.ศ. 950 และบังคับให้จ่ายบรรณาการให้แก่พระองค์ เมื่อฐานในบ้านเกิดแข็งแกร่ง พระเจ้าอ็อทโทไม่เพียงกำจัดการอ้างสิทธิ์ในโลทริงเงินของฝรั่งเศสได้ แต่พระองค์ยังเข้าไปเป็นตัวลางไกล่เกลี่ยปัญหาภายในของฝรั่งเศสด้วย
[[ไฟล์:Meissner-dom-stifter.jpg|thumb|รูปปั้นของพระเจ้าอ็อทโทที่ 1 (ขวา) กับอาเดอแลดในอาสนวิรไมเซิน พระเจ้าอ็อทโทกับอาเดอแลดอภิเสกสมรสกันหลังทรงผนวกอิตาลี]]
[[ไฟล์:Meissner-dom-stifter.jpg|thumb|รูปปั้นของพระเจ้าอ็อทโทที่ 1 (ขวา) กับอาเดลาอีดในอาสนวิหารไมเซิน พระเจ้าอ็อทโทกับอาเดลาอีดอภิเสกสมรสกันหลังทรงผนวกอิตาลี]]


อีดิธสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 946 ปี ค.ศ. 951 พระเจ้าอ็อทโทบุกอิตาลีที่เบเรนการ์แห่งอิฟเรอา ลอร์ดของอิตาลีได้ทำการยึดบัลลังก์และลักพาตัว[[อาเดอแลดแห่งอิตาลี จักรพรรดินีแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|อาเดอแลด]] เจ้าหญิงบูร์กอญซึ่งเป็นพระราชินีม่ายของกษัตริย์คนก่อน เบเรนการ์พยายามบังคับให้พระนางสมรสกับบุตรชายของตนแต่พระนางหนีไปได้และได้ไปขอความช่วยเหลือจากกษัตริย์เยอรมนี พระเจ้าอ็อทโทข้าม[[เทือกเขาแอลป์]]มายึดตำแหน่งกษัตริย์ของ[[ลอมบาร์ด|ชาวลอมบาร์ด]]และอภิเษกสมรสกับอาเดอแลด พระองค์อนุญาตให้เบเรนการ์ปกครองอิตาลีต่อไปในฐานะในฐานะข้าราชบริวารของพระองค์ พระเจ้าอ็อทโทกับอาเดอแลดมีพระโอรสธิดาด้วยกัน คือ
อีดิธสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 946 ปี ค.ศ. 951 พระเจ้าอ็อทโทบุกอิตาลีที่เบเรนการ์แห่งอิฟเรอา พวกขุนนางของอิตาลีได้ทำการยึดบัลลังก์และลักพาตัว[[อาเดลาอีดแห่งอิตาลี จักรพรรดินีแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|อาเดลาอีด]] เจ้าหญิงอีตาลีจากบูร์กอญซึ่งเป็นพระราชินีม่ายของกษัตริย์คนก่อน เบเรนการ์พยายามบังคับให้พระนางสมรสกับบุตรชายของตนแต่พระนางหนีไปได้และได้ไปขอความช่วยเหลือจากกษัตริย์เยอรมัน พระเจ้าอ็อทโทข้าม[[เทือกเขาแอลป์]]มายึดตำแหน่งกษัตริย์ของ[[ลอมบาร์ด|ชาวลอมบาร์ด]]และอภิเษกสมรสกับอาเดลาอีด พระองค์อนุญาตให้เบเรนการ์ปกครองอิตาลีต่อไปในฐานะในฐานะข้าราชบริวารของพระองค์ พระเจ้าอ็อทโทกับอาเดลาอีดมีพระโอรสธิดาด้วยกัน คือ


* ไฮน์ริช (ประสูติ ค.ศ. 952<ref>Keller, Hagen; Althoff, Gerd (2008). ''Die Zeit der späten Karolinger und der Ottonen: 888–1024''. ''Gebhardt Handbuch der deutschen Geschichte Band 3''(in German). Klett-Cotta, p. 193.</ref>) สิ้นพระชนม์ในวัยเด็ก
* ไฮน์ริช (ประสูติ ค.ศ. 952<ref>Keller, Hagen; Althoff, Gerd (2008). ''Die Zeit der späten Karolinger und der Ottonen: 888–1024''. ''Gebhardt Handbuch der deutschen Geschichte Band 3''(in German). Klett-Cotta, p. 193.</ref>) สิ้นพระชนม์ในวัยเด็ก
บรรทัด 79: บรรทัด 78:
* [[จักรพรรดิอ็อทโทที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|ออทโทที่ 2]] (ประสูติ ค.ศ. 955) จักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
* [[จักรพรรดิอ็อทโทที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|ออทโทที่ 2]] (ประสูติ ค.ศ. 955) จักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์


ในเวลาเดียวกันนั้นในเยอรมนี ลิวดอล์ฟ พระโอรสของพระเจ้าอ็อทโทกับอีดิธได้ร่วมกับบุคคสำคัญหลายคนของเยอรมันก่อปฏิวัติต่อกษัตริย์ ความสำเร็จลอยมาอยู่ตรงหน้าหนุ่มน้อย และพระเจ้าอ็อทโทได้ต้องถอนทัพกลับซัคเซิน แต่ในปี ค.ศ. 954 การรุกรานของชาวแมกยาร์เริ่มสร้างปัญหาให้กลุ่มกบฏที่ถูกกล่าวหาว่าสมคบคิดกับศัตรูของเยอรมนี การต่อสู้ยังคงดำเนินต่อไปจนกระทั่งลิวดอล์ฟยอมจำนนต่อพระบิดาในปี ค.ศ. 955 พระเจ้าอ็อทโทสามารถบดขยี้ชาวแมกยาร์ได้ที่สมรภูมิเลชเฟล์ด จากนั้นชาวแมกยาร์ก็ไม่เคยบุกเยอรมนีอีกเลย พระเจ้าอ็อทโทยังคงประสบความสำเร็จทางทหารอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะกับชาวสลาฟ
ในเวลาเดียวกันนั้นในเยอรมัน ลิวดอล์ฟ พระโอรสของพระเจ้าอ็อทโทกับอีดิธได้ร่วมกับบุคคสำคัญหลายคนของเยอรมันก่อปฏิวัติต่อกษัตริย์ ความสำเร็จลอยมาอยู่ตรงหน้าหนุ่มน้อย และพระเจ้าอ็อทโทได้ต้องถอนทัพกลับซัคเซิน แต่ในปี ค.ศ. 954 การรุกรานของชาวมัจยาร์เริ่มสร้างปัญหาให้กลุ่มกบฏที่ถูกกล่าวหาว่าสมคบคิดกับศัตรูของเยอรมัน การต่อสู้ยังคงดำเนินต่อไปจนกระทั่งลิวดอล์ฟยอมจำนนต่อพระบิดาในปี ค.ศ. 955 พระเจ้าอ็อทโทสามารถบดขยี้ชาวมัจยาร์ได้ที่สมรภูมิเลชเฟล์ด จากนั้นชาวมัจยาร์ก็ไม่เคยบุกเยอรมันอีกเลย พระเจ้าอ็อทโทยังคงประสบความสำเร็จทางทหารอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะกับชาวสลาฟ
<br />
<br />


บรรทัด 90: บรรทัด 89:
จักรพรรดิอ็อทโทเข้ายึดอาณาเขตของ[[จักรวรรดิไบแซนไทน์|จักรวรรดิโรมันตะวันออก]]ทางตอนใต้ของอิตาลีจนส่งผลให้ในปี ค.ศ. 972 ชาวไบเซนไทน์ได้ทำสนธิสัญญากับพระองค์ ยอมรับในตำแหน่งจักรพรรดิของพระองค์อย่างเป็นทางการ ทั้งยังยก[[เธโอฟาโน จักรพรรดินีแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|เธโอฟาโน]] เจ้าหญิงบาเซนไทน์ให้เป็นเจ้าสาวของอ็อทโท พระโอรสและทายาทของพระองค์
จักรพรรดิอ็อทโทเข้ายึดอาณาเขตของ[[จักรวรรดิไบแซนไทน์|จักรวรรดิโรมันตะวันออก]]ทางตอนใต้ของอิตาลีจนส่งผลให้ในปี ค.ศ. 972 ชาวไบเซนไทน์ได้ทำสนธิสัญญากับพระองค์ ยอมรับในตำแหน่งจักรพรรดิของพระองค์อย่างเป็นทางการ ทั้งยังยก[[เธโอฟาโน จักรพรรดินีแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|เธโอฟาโน]] เจ้าหญิงบาเซนไทน์ให้เป็นเจ้าสาวของอ็อทโท พระโอรสและทายาทของพระองค์


หลังจักรพรรดิอ็อทโทกลับถึงเยอรมนีได้ไม่นาน ทรงเรียกประชุมสภาครั้งใหญ่ที่ราชสำนักใน[[เควดลินบวร์ค]] ทรงสิ้นพระชนม์ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 973 ร่างของพระองค์ถูกฝังเคียงข้างอีดิธใน[[มัคเดอบวร์ค]]
หลังจักรพรรดิอ็อทโทกลับถึงเยอรมันได้ไม่นาน ทรงเรียกประชุมสภาครั้งใหญ่ที่ราชสำนักใน[[เควดลินบวร์ค]] ทรงสิ้นพระชนม์ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 973 ร่างของพระองค์ถูกฝังเคียงข้างอีดิธใน[[มัคเดอบวร์ค]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

* [https://www.thoughtco.com/otto-i-profile-1789230 Holy Roman Emperor Otto I: ThoughtCo.]
* [https://www.thoughtco.com/otto-i-profile-1789230 Holy Roman Emperor Otto I: ThoughtCo.]
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
บรรทัด 110: บรรทัด 108:


[[หมวดหมู่:จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]
[[หมวดหมู่:จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์เยอรมนี]]
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์เยอรมัน]]
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์อิตาลี]]
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์อิตาลี]]
[[หมวดหมู่:ดยุกแห่งซัคเซิน]]
[[หมวดหมู่:ดยุกแห่งซัคเซิน]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:53, 10 พฤศจิกายน 2562

อ็อทโทที่ 1 มหาราช
รูปปั้นในมัคเดอบวร์ค
จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
ครองราชย์2 กุมภาพันธ์ 962 – 7 เมษายน 973
ราชาภิเษก2 กุมภาพันธ์ 962[1]
ณ กรุงโรม
ก่อนหน้าพระเจ้าเบเรนการ์ที่ 2
ถัดไปจักรพรรดิอ็อทโทที่ 2
กษัตริย์แห่งอิตาลี
ครองราชย์25 ธันวาคม 961 – 7 พฤษภาคม 973
ราชาภิเษก10 ตุลาคม 951[a]
ปาวีอา
ก่อนหน้าพระเจ้าเบเรนการ์ที่ 2
ถัดไปจักรพรรดิอ็อทโทที่ 2
กษัตริย์แห่งแฟรงก์ตะวันออก
ครองราชย์2 กรกฎาคม 936 – 7 พฤษภาคม 973
ราชาภิเษก7 สิงหาคม 936
อาเคิน
ก่อนหน้าพระเจ้าไฮน์ริชที่ 1
ถัดไปจักรพรรดิอ็อทโทที่ 2
ดยุกแห่งซัคเซิน
ครองราชย์2 กรกฎาคม 936 – 7 พฤษภาคม 973
ก่อนหน้าพระเจ้าไฮน์ริชที่ 1 แห่งเยอรมนี
ถัดไปเบอร์นาร์ดที่ 1
ประสูติ23 พฤศจิกายน ค.ศ. 912(912-11-23)
อาณาจักรแฟรงก์ตะวันออก[2]
สวรรคต7 พฤษภาคม ค.ศ. 973(973-05-07) (60 ปี)
เมมเลเบิน, จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
ชายาแอดกิธแห่งอังกฤษ (930–946)
อาเดลาอีดแห่งบูร์กอญ (951–973)
ราชวงศ์อ็อทโท
พระราชบิดาพระเจ้าไฮน์ริชที่ 1
พระราชมารดามาทิลดา
ศาสนาโรมันคาทอลิก

อ็อทโทที่ 1 มหาราช (เยอรมัน: Otto I. der Große)[3] ทรงเป็นกษัตริย์แห่งอาณาจักรแฟรงก์ตะวันออก (ชื่อเรียกบริเวณที่เป็นประเทศเยอรมันในยุคนั้น) ในปี ค.ศ. 936 และทรงเป็นจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ตั้งแต่ปี ค.ศ. 962 จนสวรรคตในปี ค.ศ. 973 ทรงเป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ในพระเจ้าไฮน์ริชที่ 1กับพระนางมาทิลเดอแห่งริงเงิลไฮม์

พระองค์ได้ขึ้นสืบบัลลังก์แห่งดัชชีซัคเซินและบัลลังก์เยอรมันภายหลังที่พระราชบิดาสวรรคตในปี ค.ศ. 936 และออกพระนามว่า พระเจ้าอ็อทโทที่ 1 แห่งเยอรมนี เมื่อขึ้นครองราชสมบัติแล้วพระองค์ก็เจริญรอยตามพระปณิธานของพระราชบิดาที่จะรวบรวมแผ่นดินของชนเยอรมันให้เป็นหนึ่งเดียวอีกครั้ง พระราชอำนาจของพระองค์แผ่ขยายไปอย่างกว้างไกลผ่านชั้นเชิงการเมืองที่เยี่ยมยอด ไม่ว่าจะด้วยวิธีแต่งงานทางการเมืองหรือการแต่งตั้งสมาชิกพระราชวงศ์ของพระองค์ไปปกครองดัชชีและดินแดงต่างๆ นโยบายของพระองค์ได้ลดอำนาจและจำนวนดยุกลงไปมาก ซึ่งแต่ก่อนทำหน้าที่ปกครองดินแดนร่วมกับกษัตริย์ ดยุกจำนวนมากแปรสถานะจากผู้ปกครองอิสระมาเป็นผู้ปกครองใต้พระราชอำนาจของพระองค์ นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงนำศาสนจักรโรมันคาทอลิกเข้ามาสู่อาณาจักรเพื่อเสริมสร้างพระราชอำนาจของพระองค์

หลังทรงจัดการสงครามกลางเมืองระหว่างดัชชีต่างๆได้ พระองค์ก็สามารถมีชัยเหนือพวกมัจยาร์ (ฮังการี) ในยุทธการที่เลชเฟิลด์ ค.ศ. 955 ได้ ทำให้ยุโรปตะวันตกพ้นภัยจากการรุกรานของฮังการี[4] นอกจากนี้ การมีชัยเหนือพวกฮังการีนอกศาสนายังทำให้พระองค์มีชื่อเสียงขึ้นมาอย่างมากในฐานะ "ผู้กอบกู้แห่งคริสตจักร" ต่อมาในปี ค.ศ. 961 พระองค์สามารถพิชิตราชอาณาจักรอิตาลี และขยายดินแดนของพระองค์ไปทางเหนือ, ตะวันออก และใต้ ในปีค.ศ. 962 พระองค์ทรงราชาภิเษกขึ้นเป็นจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ โดยให้พระสันตะปาปาสวมมงกุฎให้ในกรุงโรม เหมือนอย่างที่ชาร์เลอมาญเคยทำ

ประวัติศาสตร์ก่อนหน้า

หลังจักรพรรดิชาร์เลอมาญสวรรคตในปี ค.ศ. 814 จักรวรรดิของพระองค์ถูกแบ่งออก จักรพรรดิคนท้ายๆ ของราชวงศ์การอแล็งเฌียงมีอำนาจเพียงแค่ในอิตาลีเหนือและอิตาลีกลาง เบเรงการ์แห่งฟรีอูลี จักรพรรดิคนสุดท้ายของราชวงศ์การอแล็งเฌียงถูกฆาตกรรมในปี ค.ศ. 924 ตำแหน่งจึงตกเป็นของกษัตริย์ของชาวแฟรงก์ตะวันออกที่ต่อมากลายเป็นกษัตริย์แห่งเยอรมนี ในปี ค.ศ. 919 บรรดาดยุกในเยอรมันได้เลือกไฮน์ริชพรานล่านก ดยุกแห่งซัคเซินได้รับเลือกเป็นกษัตริย์และสกัดกั้นชาวมัจยาร์, ชาวสลาฟ และชาวเดนไว้ได้

ก่อนครองบัลลังก์

อ็อทโทเป็นพระโอรสของพระเจ้าไฮน์ริชที่ 1 แห่งลิวดอลฟิงหรือราชวงศ์ซัคเซิน (ขณะนั้นยังไม่เป็นกษัตริย์) กับแมธิล์เดอ พระมเหสีคนที่สอง ข้อมูลชีวิตช่วงวัยเด็กของพระองค์มีไม่มาก แต่เชื่อกันว่าพระองค์น่าจะเคยร่วมทำศึกกับพระเจ้าไฮน์ริชอยู่หลายครั้งในช่วงปลายวัยรุ่น ในปี ค.ศ. 930 อ็อทโทสมรสกับอีดจิธ พระธิดาของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโสแห่งอังกฤษ อีดิธให้กำเนิดพระโอรสหนึ่งคนกับพระธิดาหนึ่งคน คือ

  • ลิวดอล์ฟ (ประสูติ ค.ศ. 930) ดยุกแห่งชวาเบิน สิ้นพระชนม์ก่อนพระบิดา
  • ลิวต์การ์ด (ประสูติ ค.ศ. 932[5]) สมรสกับค็อนราท เคานต์แห่งลอแรน


ภาพมุมข้างของบัลลังก์ชาร์เลอมาญในอาสนวิหารอาเคินที่พระเจ้าอ็อทโทเข้ารับการสวมมงกุฎเป็นกษัตริย์ในปี ค.ศ. 936

พระเจ้าไฮน์ริชประกาศให้อ็อทโทเป็นผู้สืบบัลลังก์ของพระองค์ หนึ่งเดือนต่อมาพระเจ้าไฮน์ริชสิ้นพระชนม์ ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 936 เหล่าดยุกของเยอรมันได้เลือกอ็อทโทเป็นกษัตริย์ พระองค์ได้รับการสวมมงกุฎจากอัครมุขนายกแห่งไมนทซ์และอัครมุขนายกแห่งโคโลญที่อาเคิน นครซึ่งเคยเป็นที่พำนักโปรดของจักรพรรดิชาร์เลอมาญ พระองค์มีพระชนมายุ 23 พรรษาขณะขึ้นเป็นกษัตริย์

กษัตริย์แห่งเยอรมนี

ยุโรปกลางในช่วงปี ค.ศ. 919–1125 ราชอาณาจักรเยอรมนีประกอบด้วยดัชชีซัคเซิน (เหลือง), ดัชชีฟรังเคิน (ฟ้า), ดัชชีบาวาเรีย (เขียว), ดัชชีชวาเบิน (ส้ม), ดัชชีลอแรน (ชมพูที่เหลือ)

กษัตริย์หนุ่มต้องการที่จะขึ้นมามีอำนาจเหนือเหล่าดยุกซึ่งพระบิดาของพระองค์ไม่เคยทำได้ นโยบายดังกล่าวก่อให้เกิดความขัดแย้งขึ้นมาในทันที เอเบอร์ฮาร์ดแห่งฟรังเคิน, เอเบอร์ฮาร์ดแห่งบาวาเรีย และกลุ่มชาวซัคเซินผู้ไม่พอใจที่มีแธงค์มาร์ พระเชษฐาต่างมารดาของพระเจ้าอ็อทโทเป็นผู้นำเริ่มกระด้างกระเดื่องในปี ค.ศ. 937 แต่ถูกพระเจ้าอ็อทโทกำราบเรียบอย่างรวดเร็ว แธงค์มาร์ถูกสังหาร เอเบอร์ฮาร์ดแห่งบาวาเรียถูกปลดจากตำแหน่ง ส่วนเอเบอร์ฮาร์ดแห่งฟรังเคินยอมสวามิภักดิ์ต่อองค์กษัตริย์

แต่การสวามิภักดิ์ของเอเบอร์ฮาร์ดเป็นเพียงการแสดงตบตา ในปี ค.ศ. 939 เขาได้ร่วมกับกิเซลแบร์ตแห่งโลทริงเงินและไฮน์ริช พระอนุชาของพระเจ้าอ็อทโทก่อกบฎต่อพระเจ้าอ็อทโทโดยมีพระเจ้าหลุยส์ที่ 4 แห่งฝรั่งเศสให้การสนับสนุน ครั้งนี้เอเบอร์ฮาร์ดถูกสังหารในสมรภูมิ ส่วนกิเซลแบร์ตจมน้ำเสียชีวิตขณะกำลังหนี ไฮน์ริชยอมสวามิภักดิ์ต่อกษัตริย์และพระเจ้าอ็อทโทเองก็ให้อภัย ไฮน์ริชที่ยังคงคิดว่าตนเองคือคนที่พระบิดาอยากให้ขึ้นเป็นกษัตริย์ได้สมคบคิดวางแผนปลงพระชนม์พระเจ้าอ็อทโทในปี ค.ศ. 941 แผนการถูกเปิดโปงและทุกคนที่ร่วมกันสมคบคิดถูกลงโทษยกเว้นไฮน์ริชที่ได้รับการให้อภัยอีกครั้ง ความเมตตาของพระเจ้าอ็อทโททำให้ไฮน์ริชภักดีต่อพระเชษฐานับตั้งแต่นั้นมาและในปี ค.ศ. 947 พระองค์ได้รับพระราชทานตำแหน่งดยุกแห่งบาวาเรีย ส่วนดยุกเยอรมันตำแหน่งอื่นๆ ตกเป็นของเหล่าพระญาติของพระเจ้าอ็อทโท

ในช่วงที่การแก่งแย่งชิงดีภายในดำเนินอยู่นั้น พระเจ้าอ็อทโทได้เสริมความแข็งแกร่งในการป้องกันและได้ขยายขอบเขตอาณาจักรของพระองค์ ทรงปราบชาวสลาฟทางฝั่งตะวันออกและได้พื้นที่ส่วนหนึ่งของเดนมาร์กมาอยู่ใต้การปกครอง ทรงตั้งตำแหน่งบิชอปในดินแดนดังกล่าวเพื่อผนึกความเป็นเจ้าประเทศราชของเยอรมันในดินแดนนั้น โบฮีเมียสร้างปัญหาให้แก่พระเจ้าอ็อทโท แต่พระองค์ก็บีบเจ้าชายโบลสวัฟที่ 1 ให้ยอมจำนนได้ในปี ค.ศ. 950 และบังคับให้จ่ายบรรณาการให้แก่พระองค์ เมื่อฐานในบ้านเกิดแข็งแกร่ง พระเจ้าอ็อทโทไม่เพียงกำจัดการอ้างสิทธิ์ในโลทริงเงินของฝรั่งเศสได้ แต่พระองค์ยังเข้าไปเป็นตัวลางไกล่เกลี่ยปัญหาภายในของฝรั่งเศสด้วย

รูปปั้นของพระเจ้าอ็อทโทที่ 1 (ขวา) กับอาเดลาอีดในอาสนวิหารไมเซิน พระเจ้าอ็อทโทกับอาเดลาอีดอภิเสกสมรสกันหลังทรงผนวกอิตาลี

อีดิธสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 946 ปี ค.ศ. 951 พระเจ้าอ็อทโทบุกอิตาลีที่เบเรนการ์แห่งอิฟเรอา พวกขุนนางของอิตาลีได้ทำการยึดบัลลังก์และลักพาตัวอาเดลาอีด เจ้าหญิงอีตาลีจากบูร์กอญซึ่งเป็นพระราชินีม่ายของกษัตริย์คนก่อน เบเรนการ์พยายามบังคับให้พระนางสมรสกับบุตรชายของตนแต่พระนางหนีไปได้และได้ไปขอความช่วยเหลือจากกษัตริย์เยอรมัน พระเจ้าอ็อทโทข้ามเทือกเขาแอลป์มายึดตำแหน่งกษัตริย์ของชาวลอมบาร์ดและอภิเษกสมรสกับอาเดลาอีด พระองค์อนุญาตให้เบเรนการ์ปกครองอิตาลีต่อไปในฐานะในฐานะข้าราชบริวารของพระองค์ พระเจ้าอ็อทโทกับอาเดลาอีดมีพระโอรสธิดาด้วยกัน คือ

  • ไฮน์ริช (ประสูติ ค.ศ. 952[6]) สิ้นพระชนม์ในวัยเด็ก
  • บรูโน (ประสูติ ค.ศ. 954[7]) สิ้นพระชนม์ในวัยเด็ก
  • มาทิลดา (ประสูติ ค.ศ. 954) พระอธิการิณีแห่งเควดลินบวร์ค
  • ออทโทที่ 2 (ประสูติ ค.ศ. 955) จักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ในเวลาเดียวกันนั้นในเยอรมัน ลิวดอล์ฟ พระโอรสของพระเจ้าอ็อทโทกับอีดิธได้ร่วมกับบุคคสำคัญหลายคนของเยอรมันก่อปฏิวัติต่อกษัตริย์ ความสำเร็จลอยมาอยู่ตรงหน้าหนุ่มน้อย และพระเจ้าอ็อทโทได้ต้องถอนทัพกลับซัคเซิน แต่ในปี ค.ศ. 954 การรุกรานของชาวมัจยาร์เริ่มสร้างปัญหาให้กลุ่มกบฏที่ถูกกล่าวหาว่าสมคบคิดกับศัตรูของเยอรมัน การต่อสู้ยังคงดำเนินต่อไปจนกระทั่งลิวดอล์ฟยอมจำนนต่อพระบิดาในปี ค.ศ. 955 พระเจ้าอ็อทโทสามารถบดขยี้ชาวมัจยาร์ได้ที่สมรภูมิเลชเฟล์ด จากนั้นชาวมัจยาร์ก็ไม่เคยบุกเยอรมันอีกเลย พระเจ้าอ็อทโทยังคงประสบความสำเร็จทางทหารอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะกับชาวสลาฟ

จักรพรรดิแห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

การพบปะกันของจักรพรรดิอ็อทโทที่ 1 กับสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 12 (วาดราวปี ค.ศ. 1450)

ปี ค.ศ. 961 สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 12 (ซึ่งรู้จักกันดีจากการพฤติกรรมตนผิดศีลธรรมทางโลกีย์) ต้องการคนมาช่วยต่อกรกับเบเรนการ์ที่เข้ายึดพื้นที่ส่วนหนึ่งของรัฐสันตะปาปา พระองค์หันมาขอความช่วยเหลือจากพระเจ้าอ็อทโทที่รีบเดินทางไปช่วยเหลือทันทีเพื่อแลกกับการได้รับการสวมมงกุฎเป็นจักรพรรดิจากสมเด็จพระสันตะปาปา พระองค์ปราบและจองจำเบเรนการ์ ในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 962 สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 12 สวมมงกุฎให้พระเจ้าอ็อทโทเป็นจักรพรรดิ แต่ต่อมาไม่นานสมเด็จพระสันตะปาปาก็ไม่พอใจต่อการตกอยู่ภายใต้อำนาจของจักรพรรดิอ็อทโทจึงลอบวางแผนต่อต้านพระองค์ จักรพรรดิอ็อทโทกลับมาที่โรมในปี ค.ศ. 963 สภาบิชอปที่ก้มหัวให้พระองค์และจัดการประชุมตามความประสงค์ของพระองค์ได้ปลดสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นออกจากตำแหน่ง ต่อมาพระองค์ได้เลือกชาวโรมันมาครองตำแหน่งแทนเป็นสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 8

จักรพรรดิอ็อทโทแทรกแซงกิจการภายในของโรมอีกครั้งในปีต่อมาเมื่อเกิดการก่อกบฏต่อสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอและมีการเลือกสมเด็จพระสันตะปาปาอีกคนมาแทนที่ การแทรกแซงยุติลงหลังสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 965 จักรพรรดิกลับไปโรมอีกครั้งเพื่อส่งผู้ท้าชิงอีกคนที่พระองค์เลือกไว้ขึ้นครองบัลลังก์พระสันตะปาปาเป็นสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 14 เมื่อเกิดการก่อปฏิวัติต่อสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น จักรพรรดิอ็อทโทสามารถกำราบได้ พระองค์ได้ยึดอำนาจควบคุมสมเด็จพระสันตะปาปาโดยไม่สนใจสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นอีกต่อไป

จักรพรรดิอ็อทโทเข้ายึดอาณาเขตของจักรวรรดิโรมันตะวันออกทางตอนใต้ของอิตาลีจนส่งผลให้ในปี ค.ศ. 972 ชาวไบเซนไทน์ได้ทำสนธิสัญญากับพระองค์ ยอมรับในตำแหน่งจักรพรรดิของพระองค์อย่างเป็นทางการ ทั้งยังยกเธโอฟาโน เจ้าหญิงบาเซนไทน์ให้เป็นเจ้าสาวของอ็อทโท พระโอรสและทายาทของพระองค์

หลังจักรพรรดิอ็อทโทกลับถึงเยอรมันได้ไม่นาน ทรงเรียกประชุมสภาครั้งใหญ่ที่ราชสำนักในเควดลินบวร์ค ทรงสิ้นพระชนม์ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 973 ร่างของพระองค์ถูกฝังเคียงข้างอีดิธในมัคเดอบวร์ค

อ้างอิง

  1. Heather 2014, p. 281.
  2. Freund, Stephan (2013). Wallhausen – Geburtsort Ottos des Großen, Aufenthaltsort deutscher Könige und Kaiser (ภาษาGerman). Schnell und Steiner. ISBN 978-3-7954-2680-4.{{cite book}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  3. Otto I, Holy Roman Emperor[1]
  4. Reuter 1991, p. 254.
  5. Schutz, Herbert (2010). The Medieval Empire in Central Europe: Dynastic Continuity in the Post-Carolingian Frankish Realm, 900–1300. Cambridge Scholars Publishing. pp. 41–70, p. 41.
  6. Keller, Hagen; Althoff, Gerd (2008). Die Zeit der späten Karolinger und der Ottonen: 888–1024. Gebhardt Handbuch der deutschen Geschichte Band 3(in German). Klett-Cotta, p. 193.
  7. Baldwin, Stewart. "Otto the Great". Medieval Genealogy. Retrieved 26 September 2014.
  1. Berengar II ruled from 952 until 961 as "King of Italy", but as Otto's vassal.

ดูเพิ่ม