ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระธรรม (ศาสนาพุทธ)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kinkku Ananas (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8291455 โดย Tris T7ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
GeonuchBot (คุย | ส่วนร่วม)
change cats
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
'''พระธรรม'''<ref name="พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน">ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 454</ref> หมายถึงธรรมะซึ่ง[[พระพุทธเจ้า]]ทรงค้นพบและนำออกเผยแผ่ หรือคำสอนของพระพุทธเจ้า เกี่ยวกับความจริงตามธรรมชาติของ'''[[ทุกข์]]'''และวิธีการดับทุกข์ ธรรมะของพระพุทธเจ้านั้นแต่เริ่มสืบทอดกันด้วยวิธีท่องจำแบบปากต่อปาก เรียกว่า "[[มุขปาฐะ]]" สมัยต่อมาจึงได้มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร [[คัมภีร์]]ที่บันทึกพระธรรมของพระพุทธเจ้านั้น เรียกว่า [[พระไตรปิฎก]] และยังมีคัมภีร์อื่น ๆ ที่แต่งภายหลังเพื่อขยายความอีก ได้แก่ [[อรรถกถา]] [[ฎีกา]] [[อนุฎีกา]] ตามลำดับ
'''พระธรรม'''<ref name="พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน">ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 454</ref> หมายถึงธรรมะซึ่ง[[พระพุทธเจ้า]]ทรงค้นพบและนำออกเผยแผ่ หรือคำสอนของพระพุทธเจ้า เกี่ยวกับความจริงตามธรรมชาติของ'''[[ทุกข์]]'''และวิธีการดับทุกข์ ธรรมะของพระพุทธเจ้านั้นแต่เริ่มสืบทอดกันด้วยวิธีท่องจำแบบปากต่อปาก เรียกว่า "[[มุขปาฐะ]]" สมัยต่อมาจึงได้มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร [[คัมภีร์]]ที่บันทึกพระธรรมของพระพุทธเจ้านั้น เรียกว่า [[พระไตรปิฎก]] และยังมีคัมภีร์อื่น ๆ ที่แต่งภายหลังเพื่อขยายความอีก ได้แก่ [[อรรถกถา]] [[ฎีกา]] [[อนุฎีกา]] ตามลำดับ


ธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงค้นพบนั้น เป็นสิ่งที่มีอยู่แต่เดิมแล้ว ไม่ได้เกิดขึ้นพร้อมพระพุทธองค์ แต่ทรงเป็นผู้ค้นพบแล้วนำมาประกาศ อาจพอกล่าวได้ว่าการเรียนรู้พระธรรม ก็คือการเรียนรู้ธรรมดาโลก และเรียนรู้สิ่งที่เป็นปกติที่มีบ่อเกิดที่มาว่ามาอย่างไร เป็นไปได้อย่างไร
ธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงค้นพบนั้น เป็นสิ่งที่มีอยู่แต่เดิมแล้ว ไม่ได้เกิดขึ้นพร้อมพระพุทธองค์ แต่ทรงเป็นผู้ค้นพบแล้วนำมาประกาศ อาจพอกล่าวได้ว่าการเรียนรู้พระธรรม ก็คือการเรียนรู้ธรรมดาโลก และเรียนรู้สิ่งที่เป็นปกติที่มีบ่อเกิดที่มาว่ามาอย่างไร เป็นไปได้อย่างไร


== ความหมาย ==
== ความหมาย ==
บรรทัด 29: บรรทัด 29:
* [http://www.ocbs.org ศูนย์พุทธศาสน์ศึกษา มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด]
* [http://www.ocbs.org ศูนย์พุทธศาสน์ศึกษา มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด]


[[หมวดหมู่:รัตนตรัย]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ]]
{{โครงพุทธ}}
{{โครงพุทธ}}

[[หมวดหมู่:รัตนตรัย]]
[[หมวดหมู่:คำศัพท์ศาสนาพุทธ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:16, 7 พฤศจิกายน 2562

พระธรรม[1] หมายถึงธรรมะซึ่งพระพุทธเจ้าทรงค้นพบและนำออกเผยแผ่ หรือคำสอนของพระพุทธเจ้า เกี่ยวกับความจริงตามธรรมชาติของทุกข์และวิธีการดับทุกข์ ธรรมะของพระพุทธเจ้านั้นแต่เริ่มสืบทอดกันด้วยวิธีท่องจำแบบปากต่อปาก เรียกว่า "มุขปาฐะ" สมัยต่อมาจึงได้มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร คัมภีร์ที่บันทึกพระธรรมของพระพุทธเจ้านั้น เรียกว่า พระไตรปิฎก และยังมีคัมภีร์อื่น ๆ ที่แต่งภายหลังเพื่อขยายความอีก ได้แก่ อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา ตามลำดับ

ธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงค้นพบนั้น เป็นสิ่งที่มีอยู่แต่เดิมแล้ว ไม่ได้เกิดขึ้นพร้อมพระพุทธองค์ แต่ทรงเป็นผู้ค้นพบแล้วนำมาประกาศ อาจพอกล่าวได้ว่าการเรียนรู้พระธรรม ก็คือการเรียนรู้ธรรมดาโลก และเรียนรู้สิ่งที่เป็นปกติที่มีบ่อเกิดที่มาว่ามาอย่างไร เป็นไปได้อย่างไร

ความหมาย

พระธรรม (บาลี: धम्मDhamma;สันสกฤต: धर्म Dharma) ซึ่งมีรากศัพท์มาจากคำว่า "ธา" ที่หมายถึง ยก, พยุง, สนับสนุน, เกื้อหนุน

ธรรมคุณ

ใน วัตถูปมสูตร และ มหานามสูตร พระพุทธเจ้าตรัสถึงคุณลักษณะ 6 อย่างของพระธรรม ได้แก่

  1. สฺวากฺขาโต (Svakkhato) พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสดีแล้ว
  2. สนฺทิฏฺฐิโก (Sanditthiko) ผู้ปฏิบัติจะพึงเห็นชัดด้วยตนเอง
  3. อกาลิโก (Akāliko) ไม่ประกอบด้วยกาล
  4. เอหิปสฺสิโก (Ehipassiko) ควรเรียกให้มาดู
  5. โอปนยิโก (Opānayiko) ควรน้อมเข้ามา
  6. ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิญญูหิ (Paccattam veditabbo viññūhi) วิญญูชนพึงรู้เฉพาะตน

การปฏิบัติพระธรรมจะนำมาซึ่ง ความสงบ และ ความสุข แก่ตนผู้ปฏิบัติ ดังนั้นจึงเป็นความรับผิดชอบของตนเองในการปฏิบัติพระธรรม

การศึกษาพระธรรมในปัจจุบัน

ปัจจุบัน การศึกษาพุทธธรรมหรือพระพุทธศาสนาในประเทศพุทธเถรวาทและมหายาน นิยมจัดการเรียนการสอนแบบมหาวิทยาลัย โดยอาจจัดควบคู่ไปกับการเรียนการสอนตามแบบที่สืบทอดกันมาแต่โบราณในประเทศนั้น ๆ เช่น ในประเทศไทย นอกจากจะมีมหาวิทยาลัยสงฆ์แล้ว ยังคงมีการเรียนการสอนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม และบาลีอยู่ เป็นต้น

การศึกษาพุทธศาสนาในระดับนานาชาติในปัจจุบัน เป็นที่สนใจของตะวันตกอย่างกว้างขวาง หลังจากมีการจัดตั้งสมาคมบาลีปกรณ์ และองค์กรพุทธต่าง ๆ ขึ้นมามากมายหลายแห่ง ทั้งในอังกฤษ ฝรั่งเศส สหรัฐ เยอรมนี ฯลฯ เพื่อค้นคว้าหลักพุทธธรรมที่ปรากฏในคัมภีร์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาทิเบต และ ภาษาจีน ทำให้การศึกษาพุทธธรรมขยายตัวอย่างรวดเร็ว ปัจจุบันนี้ มหาวิทยาลัยทั้งยุโรปและอเมริกาหลายแห่งอาจเปิดสอนพุทธธรรมทั้งระดับปริญญาตรี ปริญญาเอก ปริญญาโท ปริญญาตรี

อ้างอิง

  1. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 454

แหล่งข้อมูลอื่น