ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอ็ดเวิร์ด วูด เอิร์ลแห่งฮาลิแฟกซ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
บริการเปลี่ยนหมวดหมู่อัตโนมัติด้วยบอต
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 38: บรรทัด 38:
}}
}}


'''เอ็ดเวิร์ด เฟรเดริก ลินเลย์ วูด เอิร์ลแห่งฮาลิแฟกซ์''' ({{lang-en|Edward Frederick Lindley Wood, 1st Earl of Halifax}}) เป็นหนึ่งในนักการเมืองอาวุโสที่สุดใน[[พรรคอนุรักษนิยม (สหราชอาณาจักร)|พรรคอนุรักษนิยม]]ของ[[สหราชอาณาจักร]]ในทศวรรษที่ 1930 เขาได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีหลายกระทรวง และยังได้เป็นอุปราชแห่ง[[บริติชราช|อินเดีย]]ระหว่าง ค.ศ. 1925 ถึง 1931 เขาเป็นหนึ่งในผู้คิดและเสนอ[[การจำยอมสละ|นโยบายจำยอมสละ]]ต่อรัฐสภาในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ในค.ศ. 1939 เขาเป็นหนึ่งในผู้สนับสนุนให้สหราชอาณาจักรหยุดยั้งการแผ่อำนาจของ[[ฮิตเลอร์]]โดยการส่งทหารไปช่วยคุ้มกัน[[โปแลนด์]]
'''เอ็ดเวิร์ด เฟรเดริก ลินเลย์ วูด เอิร์ลแห่งฮาลิแฟกซ์''' ({{lang-en|Edward Frederick Lindley Wood, 1st Earl of Halifax}}) ผู้ซึ่งได้รับ[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์การ์เตอร์]] (The Most Noble Order of the Garter - KG), [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์กิตติคุณ]] (Order of Merit - OM), [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์ดาวแห่งอินเดีย]] (Order of the Star of India) ระดับผู้บัญชาการอัศวินที่ยิ่งใหญ่(GCSI) [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์เซนต์มีคาเอลและเซนต์จอร์จ]](Order of St Michael and St George - GCMG), [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์จักรวรรดิอินเดีย]](Order of the Indian Empire) ระดับผู้บัญชาการอัศวินที่ยิ่งใหญ่(GCIE), [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์ดินแดน]](Territorial Decoration - TD) และ[[คณะองคมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร]](Privy Council of the United Kingdom - PC) มีอีกชื่อหนึ่งว่า '''ลอร์ดเออร์วิน(Lord Irwin)''' ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1925 ถึง ค.ศ. 1934 และ '''ไวเคานต์ฮาลิแฟกซ์''' ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1934 ถึง ค.ศ. 1944 เป็นหนึ่งในนักการเมืองอาวุโสที่สุดใน[[พรรคอนุรักษนิยม (สหราชอาณาจักร)|พรรคอนุรักษนิยม]]ของ[[สหราชอาณาจักร]]ในปี ค.ศ. 1930 เขาได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีหลายกระทรวง และยังได้เป็นอุปราชแห่ง[[บริติชราช|อินเดีย]] ระหว่างปี ค.ศ. 1925 ถึง 1931 และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ ระหว่างปี ค.ศ. 1938 ถึง 1940 เขาเป็นหนึ่งในผู้คิดและเสนอ[[การจำยอมสละ|นโยบายจำยอมสละ]]ต่อ[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] ในปี ค.ศ. 1936-38 ได้ทำงานอย่างใกล้ชิดกับนายกรัฐมนตรี [[เนวิล เชมเบอร์ลิน]] อย่างไรก็ตาม, ภายหลังจาก[[การยึดครองเชโกสโลวาเกียของเยอรมนี|เยอรมันยึดครองเชโกสโลวาเกีย]]ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1939 เขาเป็นหนึ่งในผู้ที่ผลักดันนโยบายใหม่ในความพยายามขัดขวางการรุกรานของเยอรมันครั้งต่อไปโดยให้สัญญาว่าจะเข้าสู่สงครามเพื่อปกป้อง[[สาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง|โปแลนด์]]


เมื่อเชมเบอร์ลินได้ลาออกในช่วงต้นเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1940 ฮาลิแฟกซ์ได้รับการสนับสนุนในการขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนต่อไปอย่างท่วมท้นแต่เขากลับปฏิเสธ เพราะเขาคิดว่า [[วินสตัน เชอร์ชิล]] เหมาะสมที่จะเป็นผู้นำของสหราชอาณาจักรในช่วงเวลายามสงครามครั้งนี้(สมาชิก[[สภาขุนนาง]]ของเขาต่างยอมรับเหตุผลอย่างเป็นทางการ) สองสามสัปดาห์ต่อมา เมื่อฝ่ายสัมพันธมิตรได้ประสบความพ่ายแพ้อย่างรุนแรงและกองทัพบริติซได้ล่าถอยไปยังดันเคิร์ก ฮาลิแฟกซ์ได้รับการสนับสนุนให้เข้าหา[[ราชอาณาจักรอิตาลี|อิตาลี]]เพื่อดูว่าจะสามารถเจรจาตกลงเพื่อสันติภาพได้หรือไม่ เขาถูกครอบงำโดยเชอร์ชิล ภายหลังจากหนึ่งในการประชุมที่ดุเดือดในกระทรวงการสงคราม ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1941 ถึง ค.ศ. 1946 เขาได้ทำหน้าที่เป็นเอกอัครราชฑูตบริติซประจำการในกรุงวอชิงตัน, สหรัฐอเมริกา
เมื่อนายกรัฐมนตรี [[เนวิล เชมเบอร์ลิน]] ลาออกในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1940 เขาได้รับการสนับสนุนอย่างท่วมท้นจากสภาให้เป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไป แต่เขาเชื่อว่า[[วินสตัน เชอร์ชิล|เชอร์ชิล]]จะเป็นนายกฯที่เหมาะสมกว่าในช่วงเวลาสงคราม เขาจึงปฏิเสธคำเชิญโดยใช้ข้ออ้างว่า ตนเองเป็นสมาชิกสภาสูง ไม่เหมาะที่จะมาเป็นนายกรัฐมนตรี


== ฐานันดร ==
== ฐานันดร ==
{| class="wikitable"
{| class="wikitable"
|-
|-
|[[ภาพ:The Earl of Halifax CoA.png|left|130px]] || rowspan = "2" |
|[[ไฟล์:The Earl of Halifax CoA.png|left|130px]] || rowspan = "2" |
* '''ท่านลอร์ดอิร์วิน ''' – 22 ธันวาคม ค.ศ. 1925
* '''ท่านลอร์ดอิร์วิน ''' – 22 ธันวาคม ค.ศ. 1925
* '''ไวเคานต์ฮาลิแฟกซ์''' – 19 มกราคม ค.ศ. 1934
* '''ไวเคานต์ฮาลิแฟกซ์''' – 19 มกราคม ค.ศ. 1934

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:41, 31 ตุลาคม 2562

เอิร์ลแห่งฮาลิแฟกซ์
อุปราชและข้าหลวงต่างพระองค์แห่งอินเดีย
ดำรงตำแหน่ง
3 เมษายน 1926 – 18 เมษายน 1931
กษัตริย์พระเจ้าจอร์จที่ 5
นายกรัฐมนตรี
ก่อนหน้าเอิร์ลแห่งเรดดิง
ถัดไปเอิร์ลแห่งวิลลิงดอน
ผู้นำสภาขุนนาง
ดำรงตำแหน่ง
22 พฤศจิกายน 1935 – 21 กุมภาพันธ์ 1938
กษัตริย์
นายกรัฐมนตรี
  • สแตนลีย์ บอลดวิน
  • เนวิล เชมเบอร์ลิน
ก่อนหน้ามาควิสแห่งลอนดอนเดอร์รี
ถัดไปเอิร์ลสตันโฮป
ดำรงตำแหน่ง
3 ตุลาคม 1940 – 22 ธันวาคม 1940
กษัตริย์พระเจ้าจอร์จที่ 6
นายกรัฐมนตรีวินสตัน เชอร์ชิล
ก่อนหน้าไวเคานต์คาลดีคอต
ถัดไปลอร์ดลอยด์
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด
เอ็ดเวิร์ด เฟรเดริก ลินเลย์ วูด

16 เมษายน ค.ศ. 1881(1881-04-16)
เดวอน, ประเทศอังกฤษ
เสียชีวิต23 ธันวาคม ค.ศ. 1959(1959-12-23) (78 ปี)
ยอร์กเชอร์, ประเทศอังกฤษ
ศาสนาคาทอลิก

เอ็ดเวิร์ด เฟรเดริก ลินเลย์ วูด เอิร์ลแห่งฮาลิแฟกซ์ (อังกฤษ: Edward Frederick Lindley Wood, 1st Earl of Halifax) ผู้ซึ่งได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์การ์เตอร์ (The Most Noble Order of the Garter - KG), เครื่องราชอิสริยาภรณ์กิตติคุณ (Order of Merit - OM), เครื่องราชอิสริยาภรณ์ดาวแห่งอินเดีย (Order of the Star of India) ระดับผู้บัญชาการอัศวินที่ยิ่งใหญ่(GCSI) เครื่องราชอิสริยาภรณ์เซนต์มีคาเอลและเซนต์จอร์จ(Order of St Michael and St George - GCMG), เครื่องราชอิสริยาภรณ์จักรวรรดิอินเดีย(Order of the Indian Empire) ระดับผู้บัญชาการอัศวินที่ยิ่งใหญ่(GCIE), เครื่องราชอิสริยาภรณ์ดินแดน(Territorial Decoration - TD) และคณะองคมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร(Privy Council of the United Kingdom - PC) มีอีกชื่อหนึ่งว่า ลอร์ดเออร์วิน(Lord Irwin) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1925 ถึง ค.ศ. 1934 และ ไวเคานต์ฮาลิแฟกซ์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1934 ถึง ค.ศ. 1944 เป็นหนึ่งในนักการเมืองอาวุโสที่สุดในพรรคอนุรักษนิยมของสหราชอาณาจักรในปี ค.ศ. 1930 เขาได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีหลายกระทรวง และยังได้เป็นอุปราชแห่งอินเดีย ระหว่างปี ค.ศ. 1925 ถึง 1931 และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ ระหว่างปี ค.ศ. 1938 ถึง 1940 เขาเป็นหนึ่งในผู้คิดและเสนอนโยบายจำยอมสละต่ออดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ในปี ค.ศ. 1936-38 ได้ทำงานอย่างใกล้ชิดกับนายกรัฐมนตรี เนวิล เชมเบอร์ลิน อย่างไรก็ตาม, ภายหลังจากเยอรมันยึดครองเชโกสโลวาเกียในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1939 เขาเป็นหนึ่งในผู้ที่ผลักดันนโยบายใหม่ในความพยายามขัดขวางการรุกรานของเยอรมันครั้งต่อไปโดยให้สัญญาว่าจะเข้าสู่สงครามเพื่อปกป้องโปแลนด์

เมื่อเชมเบอร์ลินได้ลาออกในช่วงต้นเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1940 ฮาลิแฟกซ์ได้รับการสนับสนุนในการขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนต่อไปอย่างท่วมท้นแต่เขากลับปฏิเสธ เพราะเขาคิดว่า วินสตัน เชอร์ชิล เหมาะสมที่จะเป็นผู้นำของสหราชอาณาจักรในช่วงเวลายามสงครามครั้งนี้(สมาชิกสภาขุนนางของเขาต่างยอมรับเหตุผลอย่างเป็นทางการ) สองสามสัปดาห์ต่อมา เมื่อฝ่ายสัมพันธมิตรได้ประสบความพ่ายแพ้อย่างรุนแรงและกองทัพบริติซได้ล่าถอยไปยังดันเคิร์ก ฮาลิแฟกซ์ได้รับการสนับสนุนให้เข้าหาอิตาลีเพื่อดูว่าจะสามารถเจรจาตกลงเพื่อสันติภาพได้หรือไม่ เขาถูกครอบงำโดยเชอร์ชิล ภายหลังจากหนึ่งในการประชุมที่ดุเดือดในกระทรวงการสงคราม ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1941 ถึง ค.ศ. 1946 เขาได้ทำหน้าที่เป็นเอกอัครราชฑูตบริติซประจำการในกรุงวอชิงตัน, สหรัฐอเมริกา

ฐานันดร

  • ท่านลอร์ดอิร์วิน – 22 ธันวาคม ค.ศ. 1925
  • ไวเคานต์ฮาลิแฟกซ์ – 19 มกราคม ค.ศ. 1934
  • เอิร์ลแห่งฮาลิแฟกซ์ – ค.ศ. 1944
อาร์มประจำตำแหน่ง

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ เอ็ดเวิร์ด เฟรเดริก ลินเลย์ วูด