ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซุนนี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 118.173.51.10 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Narutzy
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
Ris24 (คุย | ส่วนร่วม)
ประวัติ
บรรทัด 11: บรรทัด 11:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
อะฮฺลุสสุนนะฮฺ วัล-ญะมาอะฮฺมีอะกีดะฮฺว่าอัลลอฮฺ (ซ.บ.) ทรงมี และพระองค์ทรงมีซาตฺอันสูงส่งและบริสุทธิ์จากข้อบกพร่องทั้งปวง ซาตฺของพระองค์ไม่เหมือนสิ่งใดและไม่มีสิ่งใดเหมือน และพระองค์ทรงมีบรรดาคุณลักษณะอันสูงส่งและบริสุทธิ์จากข้อบกพร่องทั้งปวง บรรดาคุณลักษณะของพระองค์ (อัศ-ศิฟาต) ไม่เหมือนสิ่งใด และไม่มีสิ่งใดเหมือน ไม่มีผู้ใดรู้ถึงหะกีเกาะฮฺ (สภาวะอันเป็นจริง) แห่งซาตฺและบรรดาคุณลักษณะของพระองค์ว่าเป็นอย่างไร?
ในสมัยการปกครองของ[[ยะซีด บินมุอาวิยะหฟิกฮ์]] คำสั่งสอนแห่งอัลกุรอานและแห่งศาสนทูตถูกละทิ้ง ชาวมะดีนะฮ์ผู้เคร่งครัดถูกได้รับความกดดันจากตระกูลอุมัยยะฮ์ผู้ปกครองอาณาจักรอิสลาม และภายใต้ความกดดันนั้นได้เกิดหล่อหลอมเป็นกลุ่มผู้ยึดมั่นในแนวทางอิสลามแบบเดิม เพื่อต่อต้านตระกูลอุมัยยะฮ์ โดยเฉพาะหลังจากที่กองทัพจากชาม ในสมัยการปกครองของยะซีด บินมุอาวิยะฮ์ฟิกฮ์ ได้สังหารฮุเซน หลานตาศาสนทูตมุฮัมมัด พร้อมกับญาติพี่น้อง ที่กัรบะลาอ์ 73 คนในปี ค.ศ. 680 และต่อมาในปี ค.ศ. 683 ยะซีดส่งกองทัพเพื่อโจมตีพระนครมะดีนะฮ์ที่อับดุลลอฮ์ บินอุมัร อิบนุลคอฏฏอบ เป็นผู้นำในการต่อต้านการปกครองของยะซีด และโจมตีมักกะฮ์ ที่[[อับดุลลอฮ์ อินนุซซุเบร]]สถาปนาตนเองเป็นเคาะลีฟะฮ์แห่งอาณาจักรอิสลาม ชาวเมืองมะดีนะฮ์ร่วมกันออกต้านทัพของยะซีด ที่นำโดยอุกบะหฟิกฮ์ ณ สถานที่ที่มืชื่อว่า [[อัลฮัรเราะฮ์]] แต่ก็ต้องพ่ายแพ้ จนกองทัพของยะซีดสามารถเข้าปล้นสะดมเมืองมะดีนะฮ์ เป็นเวลาสามวันสามคืนตามคำสั่งของยะซีด ทหารชาม เข่นฆ่าผู้คน และข่มขืนสตรี จนกระทั่งมีผู้คนล้มตายประมาณ 10,000 คน ในจำนวนนั้นมีบุคคลสำคัญ 700 คน นอกจากนั้นมีผู้หญิงตั้งท้องเนื่องจากถูกข่มขืนชำเราอีก 500 คน หลังจากนั้นกองทัพชามก็มุ่งสู่มักกะฮ์เพื่อปราบปรามอิบนุซซุเบร โดยเข้าเผากะอ์บะฮ์ และเข่นฆ่าผู้คน ประชาชนชาวมุสลิมต่อต้านการปกครองตลอดมา แต่แล้วในปี ค.ศ. 692 อับดุลมะลิก บินมัรวานก็ส่ง [[ฮัจญาจญ์ บินยูสุฟ อัษษะกอฟี]] มาโจมตีมักกะฮ์อีกครั้ง ครั้งนี้อับดุลลอฮ์ อิบนุซซุเบร ถูกสังหารและศพถูกตรึงที่ไม้ ปักไว้หน้ากะอ์บะฮ์ ส่วนกะอ์บะฮ์ก็ถูกทำลาย


ผู้ใดกล่าวอ้างว่าพระองค์อัลลอฮฺ (ซ.บ.) ทรงมีซาตฺและบรรดาคุณลักษณะเหมือนหรือคล้ายหรือเทียบได้ได้บรรดาสิ่งที่ถูกสร้าง ผู้นั้นไม่ใช่อะฮฺลุสสุนนะฮฺ วัลญะมาอะฮฺ แต่เรียกผู้นั้นว่าพวก “มุชับบิฮะฮฺ” และผู้ใดกล่าวอ้างว่าพระองค์อัลลอฮฺ (ซ.บ.) ทรงมีซาตฺเป็นเรือนร่าง เป็นวัตถุ เป็นสสาร มีบรรดาอวัยวะและโครงสร้างตลอดจนมีองค์ประกอบเช่นเดียวกับเรือนร่างของบรรดาสิ่งที่ถูกสร้าง ผู้นั้นไม่ใช่อะฮฺลุสสุนนะฮฺ วัล-ญะมาอะฮฺ แต่เรียกผู้นั้นว่า “มุญัสสิมะฮฺ” และชนทั้งสองกลุ่มนี้เป็นพวกอุตริชนและหลงผิด
ตั้งแต่นั้นมา ผู้คนในอาณาจักรอิสลามแบ่งออกเป็นหลายกลุ่มชนใหญ่ ๆ พวกที่ฝักใฝ่ทางโลกก็สนับสนุนการปกครองของตระกูลอุมัยยะฮ์ พวกที่ต่อต้านการปกครองระบอบเคาะลีฟะฮ์ ยึดถือบุตรหลานศาสนทูตเป็นผู้นำก็คือพวก[[ชีอะฮ์]] พวกที่เชื่อว่าบรรดาสาวกคือผู้นำและสานต่อสาส์นแห่งอิสลามหลังจากนบีมุฮัมมัด พวกนี้คือ [[อะฮ์ลุสซุนนะฮ์]] ซึ่งในสมัยนั้นยังไม่ได้มีการบัญญัติศัพท์นี้ เพราะคำว่า ซุนนะฮ์วัลญะมาอะฮ์ ถูกบัญญัติขึ้นมาจริง ๆ โดย[[อะฮ์มัด บินฮันบัล]] (ค.ศ. 780-855 / ฮ.ศ.164-241) นอกจากนี้ยังมีพวกคอวาริจญ์ ที่เป็นกบฏและแยกตัวออกจากอำนาจการปกครองของอิมามอะลี เมื่อครั้งที่เป็นเคาะลีฟะฮ์ที่ 4


และอุตริกรรม (บิดอะฮฺ) ของกลุ่มดังกล่าวถือเป็นอุตริกรรมที่ทำให้ตกศาสนา (บิดอะฮฺมุกัฟฟิเราะฮฺ) ไม่อนุญาตให้อะฮฺลุสสุนนะฮฺ วัล-ญะมาอะฮฺละหมาดตามหลังกลุ่มชนดังกล่าว และการละหมาดตามหลังพวกเขาใช้ไม่ได้
ในฮิจญ์เราะหฟิกฮ์ศตวรรษที่ 3 และที่ 4 ได้มีการรวบรวม[[ฮะดีษ]]ขึ้นมา จัดเป็นอนุกรมและหมวดหมู่ เรียกในภาษาไทยว่า พระวจนานุกรม ในสายอะฮ์ลุสซุนนะฮ์ มีมากกว่า 10 พระวจนานุกรม ที่สำคัญคือ 6 พระวจนานุกรม ที่ผู้รวบรวมโดยอัลบุคอรี, มุสลิม, อัตตัรมีซี, อะบูดาวูด, อิบนุมาญะฮ์ และอันนะซาอี นอกจากนี้ยังมีพระวจนานุกรมที่รวบรวมโดย มาลิก บินอะนัส (เจ้าสำนักมาลิกีย์) , อะฮหมัด บินฮันบัล (เจ้าสำนักฮันบะลีย์), อิบนุคุซัยมะฮ์, อิบนุฮิบบาน และอับดุรรอซซาก ในยุคหลังนี้ได้มีการตรวจสอบสายรายงานอย่างถี่ถ้วน พระวจนานุกรมอัลบุคอรีและมุสลิมได้รับการยอมรับมากที่สุดในสังคมมุสลิมซุนนี


ดังน้ัน ผู้ใดกล่าวหาว่าพวกวะฮฺฮาบียฺเป็นพวกมุญัสสิมะฮฺ หรือ มุชับบิฮะฮฺ หรือมีความเชื่อเช่นเดียวกับพวกยะฮูดียฺ ในส่วนสาระสำคัญที่ขัดกับหลักความเชื่อในศาสนาอิสลามที่เด็ดขาดชัดเจนด้วยตัวบทจากอัล-กุรอานและสุนนะฮฺ การละหมาดตามหลังพวกวะฮฺฮาบียฺของบุคคลผู้นั้นย่อมใช้ไม่ได้ เพราะหากพวกวะฮฺฮาบียฺมีความเชื่อเช่นนั้นจริงตามคำกล่าวหาของผู้นั้น ย่อมแสดงว่าพวกวะฮฺฮาบีมิใช่มุสลิม ผลที่ตามมาก็คือการละหมาด 5 เวลาของผู้ที่กล่าวหาและการละหมาดวันศุกร์รวมถึงวันอีดทั้งสองของผู้ที่กล่าวหาตามหลังอิมามมัสญิดอัล-หะรอมทั้งสองซึ่งเป็นวะฮฺฮาบียฺใช้ไม่ได้โดยสิ้นเชิง
== สำนักหรือทัศนะนิติศาสตร์อิสลาม ==
[[ชะรีอะฮ์]] (شريعة) หรือนิติบัญญัติอิสลามตามทัศนะของซุนนีนั้น มีพื้นฐานมาจากอัลกุรอานและซุนนะฮ์ (อิจย์มาอ์) มติฉันท์ของเหล่าผู้รู้ และกิยาส (การเปรียบเทียบกับบทบัญญัติที่มีอยู่แล้ว)
นิกายซุนนีมีในอดีตมี 17 สำนัก แต่ได้สูญหายไปกับกาลเวลา ในปัจจุบันนิกายซุนนีมี 4 สำนัก ที่เป็นสำนักเกี่ยวกับฟิกฮ์ (นิติศาสตร์อิสลาม) ได้แก่


การไปเยี่ยม (ซิยาเราะฮฺ) สุสานของคนศอลิหฺหรือโต๊ะวะลียฺและการขอดุอาอฺต่อพระองค์อัลลอฮฺ (ซ.บ.) ที่สุสานหรือมะก็อมของโต๊ะวะลียฺนั้นเป็นสิ่งที่อนุญาตให้กระทำได้ตาม ศาสนบัญญัติ ในตำราสิยัรฺ อะอฺลาม อัน-นุบะลาอฺของอิมามอัซ-ซะฮฺบียฺ (ร.ฮ.) เล่มที่ 17 หน้า 755 ระบุว่า : และการขอดุอาอฺนั้นเป็นสิ่งที่ถูกตอบรับ (มุสตะญาบ) ณ ที่สุสานของบรรดานบีและบรรดาวะลียฺ และในสถานที่อื่นๆ ทั่วไป
# ฮะนะฟี (ทัศนะของอะบูฮะนีฟะหฟิกฮ์ นุอฟิกฮ์มาน บินษาบิต) -
# มาลีกี (ทัศนะของมาลิก บินอะนัส)
# ชาฟีอี (ทัศนะของมุฮัมมัดมัด บินอิดริส อัชชาฟิอีย์) - ผู้ที่ยึดถือทัศนะนี้คือ คนส่วนใหญ่ในไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย
# ฮันบะลี (ทัศนะของท่านอะฮ์มัด บินฮันบัล)


แต่สาเหตุของการตอบรับดุอาอฺนั้นคือการมาปรากฏตัวของผู้ขอดุอาอฺ การมีความนอบน้อม และมีการมุ่งมั่นในการวิงวอนขอ และไม่ต้องสงสัยว่าในสถานที่ที่มีความจำเริญ ในมัสญิด และในช่วงเวลาดึกสงัดก่อนรุ่งสาง และที่คล้ายๆ กันนั้น สิ่งดังกล่าวจะเกิดขึ้นแก่ผู้ขอดุอาอฺโดยส่วนใหญ่ และผู้ที่มีความคับขันทุกคน การดุอาอฺของผู้นั้นจะถูกตอบรับ
ปัจจุบันมีอีกกลุ่มที่สำคัญคือ กลุ่มที่ไม่ได้ยึดถือหรือสังกัดตนอยู่ใน 4 กลุ่มข้างต้น แต่การวินิจฉัยหลักการศาสนาจะใช้วิธีศึกษาทัศนะของทั้ง 4 กลุ่มแล้ววิเคราะห์ดูว่าทัศนะใดที่มีน้ำหนักน่าเชื่อถือมากที่สุด โดยยึดอัลกุรอานและซุนนะฮฟิกฮ์เป็นธรรมนูญสำคัญในการวินิจฉัยเรื่องต่าง ๆ ในศาสนา

และชัยคุลอิสลาม อิบนุตัยมียะฮฺ (ร.ฮ.) ระบุไว้ในตำราอิกติฎออฺ อัศ-ศิรอฎิล มุสตะกีม 2/689-691 ว่า “มีนักวิชาการและผู้มีความประเสริฐหลายกลุ่มจากชนรุ่นก่อนและชนรุ่นหลังพวกเขาเลือกที่จะทำการขอดุอาอฺที่สุสาน”

และในริสาละฮฺ อัร-ร็อด อะลา อัล-อัคนาอียฺ หน้า 115 ท่านอิบนุตัยมียะฮฺ (ร.ฮ.) กล่าวว่า “และผู้ศรัทธานั้นเขาอาจจะเลือกการละหมาดหรือการขอดุอาฮฺในสถานที่หนึ่งโดยไม่เลือกอีกสถานที่หนึ่งเพื่อให้หัวใจของเขารวมเป็นหนึ่งในสถานที่นั้นและเกิดความสอบและความนอบน้อม มิใช่เป็นเพราะว่าเขาเชื่อว่าผู้วางบัญญัติศาสนา (ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ถือว่าสถานที่นั้นประเสริฐกว่า เช่น การละหมาดของคนที่อยู่ภายในบ้านของเขาและที่คล้ายกันนั้น ดังนั้น สิ่งที่เหมือนกับเรื่องทำนองนี้เมือ่ไม่เป็นการขอในสิ่งที่ต้องห้ามก็ย่อมไม่เป็นอะไร”

     ดังนั้น การขอดุอาอฺที่สุสานของคนศอลิหฺหรือโต๊ะวะลียฺจึงเป็นสิ่งที่กระทำได้ และมีตัวบทกว้างๆ ส่งเสริมให้ทำการซิยาเราะฮฺและขอดุอาอฺที่สุสานอีกด้วย แต่การขอดุอาอฺที่ว่านี้จะต้องเป็นการขอต่อพระองค์อัลลอฮฺ (ซ.บ.) โดยตรง เพียงแต่ผู้ขออาศัยสถานที่ตรงนั้นเป็นสื่อในการตอบรับดุอาอฺเท่านั้น มิใช่ขอต่อผู้เสียชีวิตในสุสานหรือโต๊ะวะลียฺผู้นั้น เพราะการขอดุอาอฺเป็น    อิบาดะฮฺ และการขอความช่วยเหลือ (อิสติอานะฮฺ / อิสติฆอษะฮฺ) ก็เป็นอิบาดะฮฺที่จำเป็นจะต้องมอบหมายและมุ่งตรงสู่พระองค์อัลลอฮฺ (ซ.บ.) ดังปรากฏในสูเราะอัล-ฟาติหะฮฺที่ว่า إياك نَعْبُدُ وإياك نستعين

ดังนั้น หากบุคคลมุ่งการขอดุอาอฺหรือการขอความช่วยเหลือโดยตรงไปยังโต๊ะวะลียฺ และเชื่อว่าโต๊ะวะลียฺสามารถให้คุณให้โทษได้ด้วยอำนาจหรือบารมีของโต๊ะวะลียฺเอง กรณีนี้ก็เข้าข่ายเป็นชิรฺก์ใหญ่ (ชิรฺก์ อักบัรฺ) ซึ่งทำให้ตกศาสนา (มุรตัด) ได้ วัลอิยาซุบิลลาฮฺ ส่วนการมีรูปโต๊ะวะลียฺเอาไว้ในบ้านนั้นก็ต้องดูที่เจตนาว่ามีไว้เพื่อสิ่งใด

การกำหนดให้มุสลิมได้รู้จักคุณลักษณะ (ศิฟะฮฺ) ของพระองค์อัลลอฮฺ (ซ.บ.) โดยอาศัยแนวทางที่นักวิชาการฝ่ายอุศูลลุดดีน วางเอาไว้เป็นหลักพื้นฐาน เช่น การเรียนรู้และทำความเข้าใจกับศิฟาตฺ 20 ประการนั้นถือเป็นแนวทางหนึ่งที่สามารถนำไปสู่การรู้จักพระองค์อัลลอฮฺ (ซ.บ.) และการศรัทธาที่มั่นคงต่อพระองค์

เพราะหลักพื้นฐานของศิฟาตฺหลัก เช่น อัล-วุญูด , อัล-กิดัม , อัล-บะกออฺ มุคอละฟะตุฮู ลิลหะวาดิษ , อัล-กิยาม บินนัฟสฺ , อัล-หะยาตฺ อัล-อิล์ม์ , อัส-สัมอฺ , อัล-บะศ็อร , อัล-กะลาม , อัล-อิรอดะฮฺ และอัล-กุดเราะฮฺ เป็นต้น ล้วนแล้วแต่มีที่มาจากอัล-กุรอานและอัล-หะดีษ ตลอดจนการอาศัยหลักฐานทางสติปัญญา (ดะลัล อักลียฺ) ซึ่งไม่ขัดด้วยหลักฐานจากตัวบท (ดะลีล นักลียฺ) โดยนักวิชาการฝ่ายอุศูลุดดีนได้กำหนดวางเอาไว้เป็นหลักมูลฐานเพื่อมุ่งสู่การรุ้จักอัลลอฮฺ (ซ.บ.)

อะกีดะฮฺของกลุ่มอะชาอิเราะฮฺเหมือนกับอะกีดะฮฺของอิหม่าม อัซ-ซาฟิอียฺ (ร.ฮ.) หรือไม่?  เพราะกลุ่มอะชาอิเราะฮฺมาทีหลัง  และส่วนหนึ่งเป็นผู้สังกัด มัซฮับอัซ-ซาฟิอียฺ  

ส่วนถ้าถามในเชิง ตัชบีฮฺ อะกีดะฮฺกลุ่มอะชาอิเราะฮฺคือ มุชับบะฮฺ  อะกีดะฮฺของอิหม่ามอัซ-ซาฟิอียฺคือ มุชับบะฮฺบิฮฺ  และ วัจญ์ฮุช-ชะบะฮฺ  จะมีลักษณะที่เด่นชัดและแข็งแรงในมุชับบะฮฺบิฮฺมากกว่า  

จึงสรุปได้ว่าอะกีดะฮฺของ อิหม่ามอัซ-ซาฟิอียฺ เป็นอะกีดะฮฺตามแนวทางอะหฺลิสสุนนะฮฺวัลญะมาอะฮฺของผู้คนในยุคสลัฟศอลิหฺ  รุ่นตาบิอีนและตาบิอิตตาบิอีน อะกีดะฮฺของกลุ่มอะชาอิเราะฮฺซึ่เป็นผู้คนในยุคเคาะลัฟส่วนใหญ่ก็คล้ายคลึงหรือเหมือนกับอะกีดะฮฺของชาวสะลัฟศอลิหฺโดยรวม  ส่วนในข้อปลีกย่อยและบางเรื่องอาจจะมีรายละเอียดที่ต่างกันไป  มากบ้างน้อยบ้างจะว่าเหมือนกับอะกีดะฮฺของอิหม่าม อัซ-ซาฟิอียฺทั้งหมดก็คงไม่ใช่  จะว่าไม่เหมือนเลยก็คงไม่ใช่อีกเช่นกัน  ซึ่งเป็นเรื่องปกติเพราะแม้แต่กลุ่มอะชาอิเราะฮฺก็ใช่ว่าจะมีรายละเอียดข้อปลีกย่อยทางอะกีดะฮฺเหมือนกับฝ่ายมาตุรีดียะฮฺไปเสียทุกเรื่อง  ทั้งๆ ที่อยู่ร่วมสมัยกัน

แนวทางของการศึกษาศิฟาตฺ 20 ประการจึงเป็นเสมือนหลักสูตรแบบหนึ่งในภาควิชาอุศูลุดดีนที่มีรายละเอียดและเนื้อหาเกี่ยวกับศิฟาตฺของพระองค์อัลลอฮฺ (ซ.บ.) โดยเฉพาะ

การมีความเห็นที่ต่างออกไปจากแนวทางของสิ่งที่เป็นเสมือนหลักสูตรนี้ในเชิงของข้อปลีกย่อยย่อมเป็นสิ่งที่สามารถแสดงความคิดเห็นได้ แต่ถ้าจะปฏิเสธโยสิ้นเชิงและกล่าวหาว่า ศิฟาตฺ 20 ประการทั้งหมดเป็นความผิดพลาดและเป็นความล้มเหลวในเรื่องการศรัทธาต่ออัลลอฮฺ (ซ.บ.) กรณีนี้มิอาจยอมรับได้

เพราะถึงแม้ว่านักวิชาการอาจจะมีความเห็นต่างในส่วนของศิฟาตฺบางหมวดจากศิฟาตฺ 20 ประการนั้น แต่ในหมวดของศิฟาตฺพื้นฐาน เช่น อัล-หะยาต อัล-อิลฺม์ , อัล-อิรอดะฮฺ , อัล-กุดเราะฮฺ , อัล-บะกออฺ , อัล-กิยามบินนัฟสิ , อัส-สัมฺอ์ , อัล-บะศ็อรฺ , อัล-มุคอละฟะฮฺ ลิลหะวาดิษ และอัล-กะลาม เป็นต้น ศิฟาตฺเหล่านี้ไม่สามารถปฏิเสธได้เลย แล้วจะว่าเป็นความล้มเหลวได้อย่างไร?

ผู้ใดกล่าวหาในทำนองปฏิเสธว่าการเรียนรู้ศิฟาตฺ 20 ประการ เป็นการทำให้เสียอิหม่าน หรือทำให้อิหม่านของผู้ที่ศึกษาตามแนวทางที่เป็นเสมือนหลักสูตรดังกล่าวประสบความล้มเหลวและหลงผิด ผู้นั้นต้องไปตอบต่อหน้าพระองค์อัลลอฮฺ (ซ.บ.) ในวัน กิยามะฮฺเช่นกัน

หากมีเจตนาให้เกียรติและยกย่องความสำคัญถึงขั้นบูชาก็เป็นสิ่งต้องห้ามและหมิ่นเหม่ต่อการชิริก แต่ถ้าไม่มีเจตนาเช่นนั้น เช่นมีไว้เพื่อรำลึกถึงคุณงามความดีที่เขาเป็นคนรักของอัลลอฮฺ (ซ.บ.) และเราจะปฏิบัติตามในสิ่งที่เป็นคุณงามความดีนั้นเพื่อเราจะได้เป็นคนรักของอัลลอฮฺ (ซ.บ.) เช่นกัน ก็ไม่เป็นอะไร ส่วนว่าควรหรือไม่ควรก็เป็นประเด็นของรูปภาพที่นักวิชาการมีความเห็นต่างกัน

เพราะการละหมาดตามหลังพวกมุญัสสิมะฮฺ ซึ่งเป็นอุตริชนที่ตกศาสนา มิใช่เป็นเพียงมักรูฮฺเท่านั้น เพราะนั่นเป็นข้อกล่าวหาที่มิใช่ประเภทของอุตริกรรมที่ไม่ทำให้ตกศาสนา (บิดอะฮฺ ฆ็อยรฺ มุกัฟฟิเราะฮฺ) หากแต่เป็นข้อกล่าวหาที่ตักฟีรพวกวะฮฺฮาบียฺว่ากลายเป็นผู้ตกศาสนาไปแล้ว ผลที่ตามมาในเรื่องนี้ยังรวมถึงการประกอบพิธิหัจญ์และอุมเราะฮฺ การพิทักษ์รักษาดินแดนต้องห้าม การเดินทางไปศึกษาในมหาวิทยาลัยที่นั่น ซึ่งเป็นของพวกวะฮฺฮาบียฺ และ ฯลฯ

ดังนั้น ผู้ใดตัดสินว่าพวกวะฮฺฮาบียฺเป็นกาฟิรฺ มุรฺตัด (วัล-อิยาซุบิลลาฮฺ) ก็ต้องพิจารณาถึงผลพวงดังกล่าวให้จงหนัก การไม่เห็นด้วยกับอะกีดะฮฺหรือทัศนะของวะฮฺฮาบียฺจึงเป็นเรื่องหนึ่ง และการตัดสินด้วยข้อกล่าวหาว่าพวกวะฮฺฮาบียฺเป็นมุญัสสิมะฮฺซึ่งเป็นกาฟิรฺมุรตัดจึงเป็นอีกเรื่องหนึ่ง เหตุนี้คนที่เรียนมักกะฮฺนานนับสิบปี และคนที่เรียนในมหาวิทยาลัยมะดีนะฮฺ, อุมมุลกุรอ และริยาฎ ต้องเป็นผู้ตอบว่าพวกวะฮาบียฺเป็นมุญัสสิมะฮฺจริงหรือไม่? ส่วนผมไม่ขอตัดสินว่าพวกเขาเป็นเช่นนั้น เพราะการตักฟีรฺเป็นเรื่องใหญ่ที่ผมไม่บังอาจ ส่วนใครตักฟีรฺก็ต้องรับผิดชอบโดยเฉพาะคนที่เคยอยู่เคยเรียนอยู่ที่นั่น

อะฮฺลุลฟัตเราะฮฺ (أَهْلُ الْفَتْرَةِ) หมายถึงกลุ่มชนที่มีชีวิตอยู่และเสียชีวิตลงในช่วงเวลาที่ปลอดจากการส่งนบีหรือรสูลลงมาประกาศศาสนาหรือเป็นช่วงเวลาที่อยู่ระหว่างรสูลท่านหนึ่งกับอีกท่านหนึ่ง และไม่มีหลักฐานที่กำหนดช่วงเวลาระหว่างรสุล 2 ท่าน ไม่ว่าจะเป็นหลักฐานในอัล-กุรอานและสุนนะฮฺ (อะหฺสะนุลกะลาม ฟิลฟะตาวา วัล-อะหฺกาม  ชัยคฺ อะฏียะฮฺ ศอกร์ เล่มที่ 3 ภาคที่ 16 หน้า 82)

นักประวัติศาสตร์บางท่านได้พยายามกำหนดช่วงเวลาที่ปลอดหรือเว้นว่าง (อัล-ฟัตเราะฮฺ) ระหว่างบรรดารสูลด้วยกัน เช่น มุฮัมมัด อิบนุ สะอฺด์ ในตำราอัฏ-เฏาะบะกอตของท่านได้ระบุรายงานจากท่านอิบนุ อับบาส (ร.ฎ.) ว่า : ปรากกว่าระหว่างมูซา อิบนุ อิมรอน (อ.ล.) และอีซา อิบนุ มัรยัม (อ.ล.) คือ 1,700 ปี โดยไม่ปรากฏว่าระหว่างนบีทั้งสองท่านมีปลอดหรือว่างเว้นจากการส่งนบีมาแต่อย่างใด เพราะระหว่างนบีทั้งสองนั้นมีบรรดานบีของพงษ์พัยธุ์อิสรออีลถูกส่งมาจำนวน 1,000 ท่าน นอกเหนือจากรสูลที่ถูกส่งมาจากชนกลุ่มอื่นที่มิใช่พงษ์พันธุ์อิสรออีล

และปรากฏว่าระหว่างการถือกำเนิดของอีซา (อ.ล.) และนบีมุฮัมมัด (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) นั้นคือ 509 ปี  โดยมีนบี  3 ท่านถูกส่งมาในช่วงต้นของระยะเวลานัน ดังปรากฏในสูเราะฮฺยาสีน อายะฮฺที่  14 และปรากฏว่าช่วงปลอดหรือว่างเว้นที่ไม่มีรสูลท่านใดถูกส่งมาในช่วงเวลานั้นคือ 434  ปี

อัล-กัลบียฺระบุว่า แท้จริงระหว่างอีซา (อ.ล.) และมุฮัมมัด (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) คือ 569 ปี  และระหว่างนบีทั้งสองนั้นมีนบี 4 ท่าน ท่านหนึ่งเป็นชาวอาหรับจากชนเผ่าบะนูอับส์ คือ คอลิด อิบนุ สินาน อัล-กุชัยรียฺกล่าวว่า : และในเรื่องในทำนองนี้จะรู้ไม่ได้นอกเสียจากด้วยการบอกเล่าที่สัจจริง

และเกาะตาดะฮฺกล่าวว่า : ปรากฏว่าระหว่างอีซา (อ.ล.) และมุฮัมมัด (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) นั้นคือ 600 ปี มุกอติล , อัฏ-เฏาะหาก และวะฮ์บฺ อิบนุ มุนับบิฮฺ ก็กล่าวตามนี้ เว้นเสียแต่ว่าวะฮ์บฺได้เพิ่มอีก  (คือ 620 ปี) และจากอัฏ-เฏาะหากระบุว่า 430  ปีเศษอีกเช่นกัน

และอิบนุ สะอฺด์ระบุจากอิกริมะฮฺว่า : ระหว่างอาดัม (อ.ล.) และนัวหฺ (อ.ล.) 10 ศตวรรษทั้งหมดอยู่บนศาสนาอิสลาม อิบนุ สะอฺด์กล่าวว่า : มุอัมมัด อิบนุ อัมร์ อิบนิ วากิด อัล-อัสละมียฺได้บอกให้เราทราบจากหลายคนว่า : ระหว่างอาดัม (อ.ล.) และนัวหฺ (อ.ล.) 10 ศตวรรษ หนึ่งศตวรรษคือร้อยปี และอิบรอฮีม (อ.ล.) 10 ศตวรรษ หนึ่งศตวรรษคือร้อยปี และระหว่างอิบรอฮีม (อ.ล.) และมูซา อิบนุ อิมรอน (อ.ล.) 10  ศตวรรษ หนึ่งศตวรรษคือร้อยปี

ดังนั้นคือช่วงเวลาระหว่างอาดัม (อ.ล.) และมุฮัมมัด (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) จากบรรดาศตวรรษและบรรดาปี (ตัฟสีรฺ อัล-กุรฏุบียฺ เล่มที่ 6 หน้า 121 ) ชัยคฺ อะฏียะฮฺ ศอกร์ (ร.ฮ.) กล่าวว่า : ทั้งหมดเป็นการบอกเล่าที่ไม่มีหลักฐานที่เชื่อถือได้มาสนับสนุน (อะหฺสะนุลกะลาม ฟิล ฟะตาวา วัล-อะหฺกาม เล่มที่ 3 ภาคที่ 14 หน้า 82-83)

อิมามมุสลิมระบุสายรายงานในเศาะฮีหฺของท่านว่า : อบูบักรฺ อิบนุ อบีชัยบะฮฺเล่าให้เราฟังว่า อัฟฟานเล่าให้เราฟังว่า หัมมาด อิบนุ สละมะฮฺ เล่าให้เราฟังจากษาบิต จากท่านอะนัส (ร.ฎ.) ว่า : แท้จริงมีชายคนหนึ่งกล่าวว่า โอ้ท่านรสูลุลลอฮฺ บิดาของฉันอยู่ที่ไหน? ท่านรสูลุลลอฮฺ (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) กล่าวว่า : “ในนรกภูมิ” แล้วเมื่อชายผู้นั้นหันท้ายทอยของเขาในสภาพที่จากไป ท่านก็เรียกเขาผู้นั้นแล้วกล่าวว่า : “แท้จริงบิดาของฉันและบิดาของท่านอยู่ในนรกภูมิ” (เศาะฮีหฺมุสลิม บิชัรหิ อัน-นะวาวียฺ เล่มที่ 3 หน้า 79 , อบูดาวูด เล่มที่ 18 หน้า  251 , 252 อะหฺมัด ในอัล-มุสนัด เล่มที่  3/119)

และมีรายงานจากอบูฮุรอยเราะฮฺ (ร.ฮ.) ว่า : ท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ได้เยี่ยมสุสานมารดาของท่าน ท่านก็ร้องไห้ และทำให้ผู้ที่ห้อมล้อมท่านร้องไห้ ท่านกล่าวว่า : ฉันขออนุญาตพระผู้อภิบาลของฉันในการที่ฉันจะขอลุแก่โทษแก่นาง พระองค์ก็ไม่อนุญาตให้แก่ฉัน และฉันได้ขออนุญาตพระองค์ในการที่ฉันจะเยี่ยมสุสานของนาง พระองค์ก็ทรงอนุญาตให้แก่ฉัน ดังนั้น พวกท่านจงเยี่ยมสุสานเถิด เพราะมันจะทำให้รำลึกถึงความตาย” (มุสลิม 7/45  , อบูดาวูด 14/202 , อัน-นะสาอียฺ 4/90 , อิบนุมาญะฮฺ  1/501 และอัล-หากิมในอัล-มุสตัดรอก 1/375)

ในตัวบทของหะดีษแรก (ที่ระบุถึงบิดาของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) อิมาม อัน-นะวาวียฺ (ร.ฮ.) ได้อธิบายว่า : ในหะดีษบ่งว่า แท้จริง บุคคลที่ตายลงบนการปฏิเสธ (กุฟร์) ผู้นั้นอยู่ในนรกภูมิ และความเป็นญาติใกล้ชิดของเหล่าผู้ใกล้ชิดอัลลอฮฺจะไม่ให้ประโยชน์แก่ผู้นั้น และในหะดีษบ่งว่า แท้จริงผู้ที่เสียชีวิตในช่วงเวลาที่ปลอด (อัล-ฟัตเราะฮฺ) บนสิ่งที่ปรากฏว่าชาวอาหรับอยู่บนสิ่งนั้นจากการเคารพรูปเจว็ดทั้งหลาย ผู้นั้นย่อมเป็นหนึ่งจากชาวนรก และสิ่งนี้มิใช่การลงโทษก่อนการเรียกร้อง (ดะอฺวะฮฺ) มาถึง เพราะแท้จริงพวกเขาเหล่านี้ (ชาวอาหรับ) ปรากฏว่า แน่แท้การเรียกร้องของนบีอิบรอฮีม (อ.ล.) และนบีท่านอื่นๆ (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิมวะสัลลัม) ได้มาถึงพวกเขาแล้ว” (เศาะฮีหฺมุสลิม บิชัรฺหิ อัน-นะวาวียฺ 3/79)

เมื่อมีหะดีษที่ถูกต้องระบุมาในเรื่องนี้ก็ให้ว่าไปตามสิ่งที่หะดีษระบุ ชัยคฺ อะฏียะฮฺ ศอกร์ (ร.ฮ.) กล่าวว่า : คำถามในทำนองนี้ (คือถามถึงบุพการีย์ทั้งสองของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ว่าเป็นอย่างไร) ไม่มีผลประโยชน์อันใดในด้านการปฏิบัติ และไม่มีความจำเป็นสำหรับการพูดยืดยาวในเรื่องนี้ แน่แท้ บุพการีย์ทั้งสองของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ได้กลับไปยังพระผู้อภิบาลของท่านทั้งสองแล้ว และพระองค์ทรงรู้ดีถึงสภาพของท่านทั้งสอง

และไม่สมควรที่การมีทัศนะคติที่ดีและความรักของเราที่มีต่อท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) จะมานำพาให้เราต้องระบุบรรดาอัคบารฺ (เรื่องราวที่มีการบอกเล่า) ซึ่งหลักฐานที่แข็งแรงได้ทำให้บรรดาอัคบารฺเหล่านั้นบกพร่อง เช่นการบันดาลใจให้บุคคลทั้งสองฟื้นคืนชีพหลังความตายเพื่อศรัทธาต่อท่านรสูล (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม)...” (อะหฺสะนุลกะลาม ฟิลฟะตะวา วัล-อะหฺกาม : เล่มที่ 3 ภาคที่ 20 หน้า692 ,693 โดยสรุป)

เชื่อและศรัทธาว่า พระองค์อัลลอฮฺ (ซ.บ.) ทรงมีคุณลักษณะ (ศิฟาต) และพระนาม (อัสมาอฺ) จริงๆ ตามมที่มีระบุในอัล-กุรอานและบรรดาหะดีษที่เศาะฮีหฺ อันเป็นคุณลักษณะ (ศิฟาต) ตามที่พระองค์ทรงระบุไว้แก่พระองค์เอง และตามที่ท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ได้ระบุคุณลักษณะนั้นๆ แก่พระองค์โดยไม่มีวิธีการ (بَلَاكَيْف) หรือการอธิบายว่าเป็นอย่างไร? (بِلَاتَكْيِيْف) หรือการเปรียบว่าเหมือน (بِلَاتَمْثِيْل) หรือการเทียบว่าคล้าย (بِلَاتَشْبِيْهٍ) หรือการตีความเป็นอื่น (بِلَاتَأْوِيْل) หรือการบิดเบือน (بِلَاتَحْرِيْفٍ) หรือการปฏิเสธคุณลักษณะนั้นว่าพระองค์ปลอดจากการมีคุณลักษระ (بِلَاتَعْطِيْلٍ) พร้อมกับปักใจว่าคุณลักษณะของพระองค์ไม่มีสิ่งใดเหมือน ไม่เหมือนสิ่งใด

เรายืนยันคุณลักษณะ (ศิฟาต) นั้นว่าเป็นคุณลักษระ (ศิฟะฮฺ) จริงๆ ของพระองค์ตามที่พระองค์ทรงระบุคุณลักษณะนั้นแก่พระองค์เอง และตามที่ท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ระบุคุณลักษณะนั้นแก่พระองค์ เมื่อพระองค์และนบีของพระองค์ระบุว่า พระองค์ทรงมีพระหัตถ์ และพระองค์ทรงมีพระพักต์ เป็นต้น เราก็ยืนยันตามที่พระองค์และนบีของพระองค์ระบุ พระหัตถ์และพระพักตร์ของพระองค์เป็นคุณลักษณะจริงๆ ของพระองค์ ความหมายของคำว่า “พระหัตถ์” (اليد) และคำว่า พระพักตร์” (الوَجه) ตามมูลภาษาแปลได้เพียงแค่นั้น แต่ความจริงแท้ของความหมาย (หะกีเกาะฮฺ อัล-มุอฺนา อัล-มุรอด) ของคำที่บ่งคุณลักษณะนั้นไม่มีผู้ใดรู้นอกจากพระองค์

เพราะคำว่า พระหัตถ์และพระพักตร์ของพระองค์เป็นคุณลักษณะ (ศิฟะฮฺ) ไม่ใช่ความหมายตามมูลภาษาที่หมายถึงอวัยวะหรือส่วนประกอบ เมื่อพระพักตร์และพระหัตถ์ของพระองค์เป็นคุณลักษณะ (ศิฟะฮฺ) ของพระองค์ที่ไม่ใช่อวัยวะตามมูลภาษา แต่เป็นคุณลักษณะที่ไม่มีสิ่งใดเหมือนไม่เหมือนสิ่งใด เราก็เชื่อและยืนยันว่าพระองค์ทรงมีคุณลักษณะตามนั้นคือ พระองค์ทรงมี พระพักต์และพระหัตถ์เป็นคุณลักษณะจริงตามที่พระองค์และนบีของพระองค์ระบุไว้ในอัล-กุรอาน และหะดีษที่เศาะฮีหฺ

มิใช่เชื่อตามความหมายจริงตามรากศัพท์ของคำ (มะอฺนา หะกีกียฺ) เฉยๆ แต่เชื่อตามที่พระองค์และนบีของพระองค์บอกถึงคุณลักษณะนั้นหรือเชื่อตามที่พระองค์และนบีของพระองค์มีประสงค์ต่อความหมายนั้นควบคู่กับการปฏิเสธความเหมือน ความคล้าย วิธีการ และการอธิบายในเชิงตีความ พร้อมกับมอบหมาย (ตัฟวีฏ) ความรู้เกี่ยวกับหะกีเกาะฮฺ (ความจริงแท้) แห่งคุณลักษณะ (ศะฟะฮฺ) นั้นไปยังความรู้ของพระองค์ นี่คือความเชื่อในเรื่องการยืนยันคุณลักษณะ (إثْبَاتُ الصِّفَات) ของพระองค์อัลลอฮฺ (ซ.บ.) ที่ควบคู่กับการปฏิเสธความเหมือน (نَفْيُ التَّشْبِيْه)ตามแนวทางของสลัฟศอลิหฺที่นักวิชาการอธิบายไว้

มีรายงานจากท่านอับดุลลอฮฺ อิบนุ อัมร์ อิบนิ อัล-อาศ (ร.ฎ.) ว่า : ท่านรสูลุล ลอฮฺ (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ได้กล่าวขณะที่ท่านถูกถามถึงกลุ่มที่รอดพ้น (อัล-ฟิรฺเกาะฮฺ อัน-นาญิยะฮฺ) ว่าคือผู้ใด? ท่านกล่าวว่า :

مَاأَنَاعَلَيْهِ وَأَصْحَابِيْ

“คือสิ่งที่ฉันและบรรดาสหายของฉัน (สาวก) ดำรงอยู่บนสิ่งนั้น”

(อัต-ติรฺมิซียฺ : 2643)

ในสายรายงานของหะดีษบทนี้ มีอับดุลเราะหฺมาน อิบนุ ซิยาด อัล-อัฟรีกียฺ ซึ่ง อิมามอัซ-ซะฮะบียฺ (ร.ฮ.ป ระบุว่า บรรดานักวิชาการหะดีษถือว่าเขาผู้นี้อ่อน (เฎาะอีฟ) (ฟัยฎุลเกาะดีร ; อัล-มินาวียฺ 5/347)

อิมามอัช-ชาฏิบียฺ (ร.ฮ.) กล่าวถึงนัยของหะดีษบทนี้ว่า ท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ตอบว่า กลุ่มที่รอดพ้น (ฟิรฺเกาะฮฺ นาญิยะฮฺ) คือบุคคลที่มีคุณลักษณะด้วยบรรดาคุณลักษณะของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) และบรรดาคุณลักษณะของเหล่าเศาะหาบะฮฺของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) สิ่งดังกล่าวเป็นที่รับรู้ในหมู่พวกเขาโดยไม่มีสิ่งใดซ่อนเร้น..

โดยสรุปก็คือ บรรดาเศาะหาบะฮฺคือบรรดาผู้ดำเนินตามท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ได้รับทางนำด้วยทางนำของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) มีการสรรเสริญชื่นชมเหล่าเศาะหาบะฮฺในอัล-กุรอาน และท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ก็ชื่นชมเหล่าเศาะหาบะฮฺ และอันที่จริงมารยาทของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) นั้นคือ อัล-กุรอาน ดังนั้นอัล-กุรอานคือสิ่งที่ถูกปฏิบัติตามโดยข้อเท็จจริง และ สุนนะฮฺก็มาอธิบายอัล-กุรอาน ผู้ที่ตามสุนนะฮฺก็คือผู้ที่ตามอัล-กุรอาน และบรรดาเศาะหาบะฮฺ คือกลุ่มชนที่สมควรที่สุดด้วยสิ่งนั้น ดังนั้นทุกคนที่ดำเนินตามเหล่าเศาะหาบะฮฺก็คือผู้หนึ่งจากกลุ่มที่รอดพ้น..” (อัล-อิอฺติศอม 2/252)

ในบางส่วนของหะดีษเรื่องนี้ระบุว่า กลุ่มชนที่รอดพ้นคือ อัล-ญะมาอะฮฺ ซึ่งอิมามอัช-ชาฏิบียฺ (ร.ฮ.) ระบุว่า มีทัศนะ 5 ทัศนะที่อธิบายคำว่า อัล-ญะมาอะฮฺคือ

1.มหาชนจากชาวอิสลาม

2.กลุ่มของบรรดาอิมามมุจญ์ตะฮิด

3.เศาะหาบะฮฺโดยเฉพาะ

4.กลุ่มชาวอิสลามที่ตรงกันข้ามกลุ่มลัทธิและศาสนาอื่น

5.กลุ่มประชาคมมุสลิมที่รวมตัวกันตามผู้นำ (อิมาม) ที่ปฏิบัติสอดคล้องกับคัมภีร์อัล-กุรอานและสุนนะฮฺ (อัล-อิอฺติศอม 2/260 โดยสรุป)

บรรดาทัศนะเหล่านี้มิอาจจำกัดว่าเป็นชนกลุ่มหนึ่งกลุ่มใดโดยเฉพาะ เพราะอัล-ญะมาอะฮฺมิใช่จำนวนของผู้คนที่ถูกจำกัดเอาไว้ แต่เป็นองค์รวมของคุณลักษณะที่ผู้ใดมีคุณลักษณะดังกล่าวก็ถือว่าผู้นั้นเป็นส่วนหนึ่งจากประชาคมมุสลิม (เราะสาอิล อัล-อิคออฺ ; นาดิรฺ อัน-นูรียฺ หน้า 50)

อิมามอัน-นะวาวียฺ (ร.ฮ.) กล่าวว่า : อนุญาตในการที่กลุ่มชนซึ่งได้รับการช่วยเหลือจะเป็นกลุ่มชนที่หลากหลายจากชนิดต่างๆ ของผู้ศรัทธา ซึ่งมีทั้งผู้กล้าหาญ และผู้ที่มีความรอบรู้ในการทำสงคราม นักวิชาการฟิกฮฺ นักหะดีษ นักตัฟสีรฺ ผู้ที่ดำรงตนด้วยการสั่งใช้ให้กระทำความดีและห้ามปรามจากความชั่ว ผู้มีความสมถะและนักทำอิบาดะฮฺ ไม่จำเป็นว่าพวกเขาต้องรวมตัวกันอยู่ในดินแดนเดียว แต่เป็นไปได้ในการพวกเขาจะรวมตัวอยู่ในดินแดนเดียวหรือกระจายกันอยู่ในดินแดนต่างๆ ของโลก เป็นไปได้ที่พวกเขาจะรวมตัวอยู่ในเมืองๆ เดียว โดยอยู่ในบางส่วนของเมืองโดยที่บางส่วนของเมืองไม่มีพวกเขาอยู่ และเป็นไปได้ว่าโลกจะปลอดจากบางส่วนของกลุ่มชนนี้เป็นลำดับจวบจนกระทั่งไม่เหลืออยู่นอกจากกลุ่มชนเดียวในดินแดนเดียว เมื่อพวกเขาไม่เหลืออยู่อีก ลิขิตของอัลลอฮฺก็มาถึง...” (ฟัตหุลบารียฺ 13/295)

ดร.มุฮัมมัด อับดุลกอดิรฺ อบูฟาริส กล่าวว่า : “ชนกลุ่มที่รอดพ้น (ฟิรฺเกาะฮฺ นาญิยะฮฺ) ซึ่งท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) บอกเอาไว้คือกลุ่มชนที่ยึดมั่นในศาสนาอิสลามซึ่งถูกประมวลไว้ในกิตาบุลลอฮฺและสุนนะฮฺของท่านรสูล (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ตลอดจนอิจญ์มาอฺของเหล่าเศาะหาบะฮฺและสิ่งที่แตกแขนงเป็นข้อปลีกย่อมมาจากสิ่งดังกล่าว และกลุ่มที่รอดพ้นนี้ คืออะฮฺลุสสุนนะฮฺ วัล-ญะมาอะฮฺ

ดังนั้นผู้ใดจากชาวมุสลิมที่เสียชีวิตบนการให้เอกภาพ (เตาหีด) ไม่ว่าผู้นั้นจะเป็นพวกอิควาน อัล-มุสลิมีน หรือกลุ่มอัต-ตับลีฆหรือกลุ่มศูฟียฺหรืออลุ่มอัส-สะละฟียฺ หรือพรรคอิสลามเพื่อการปลดแอกหรืออื่นจากพวกเขา ทั้งปัจเจกบุคคลและกลุ่มคณะบุคคล ผู้นั้นเป็นส่วนหนึ่งจากกลุ่มชนที่รอดพ้น...” (ฟะตาวา ชัรฺอียะฮฺ ; ดร.มุฮัมมัด อับดุลกอดิรฺ อบูฟาริส เล่มที่ 2 หน้า 857-858) กลุ่มอัล-อาษารียะฮฺ (الآثاريَّة) ที่ถามถึงคือกลุ่ม “อัศหาบุลหะดีษ” (أَصْحَابُ الْحَدِيْثِ) ซึ่งเป็นกลุ่มนักปราชญ์ของอะฮฺลุสสุนนะฮฺ วัล-ญะมาอะฮฺที่เป็นนักรายงานหะดีษท่องจำและแต่งตำรที่เกี่ยวกับหะดีษ ยึดอัล-กุรอานและอัล-หะดีษเป็นหลักทั้งในด้านหลักการยึดมั่น (อะกีดะฮฺ) หลักนิติธรรม (ชะรีอะฮฺ) และจริยธรรม (มะการิม อัล-อัคลาก)

อิมามอัล-บุวัยฏียฺ (ร.ฮ.) กล่าวว่า : ฉันเคยได้ยินอัช-ชาฟิอียฺ (ร.ฮ.) กล่าวว่า : “พวกท่านจงยึดบรรดาอัศหาบุลหะดีษ เพราะแท้จริงพวกเขาเป็นกลุ่มชนที่ถูกต้องที่สุด”

และอิมามอัช-ชาฟิอียฺ (ร.ฮ.) กล่าวอีกว่า : คราใดที่ฉันเห็นคนหนึ่งจากอัศหาบุลหะดีษ ก็ประหนึ่งดังว่าฉันได้เห็นคนหนึ่งจากบรรดาสาวกของท่านรสูลลุลลอฮฺ (ศ็อลลัลลอฮุอุลัยฮิวะสัลลัม) ขอพระองค์อัลลอฮฺ (ซ.บ.) ทรงตอบแทนความดีให้แก่พวกเขา (อัศหาบุลหะดีษ) พวกเขาได้รักษาหลักมูลฐานไว้ให้แก่พวกเรา ดังนั้นพวกเขาจึงมีความดีความชอบเหนือพวกเรา” (อัล-หะดีษ วัลมุหัดดัษูน ; มุฮัมมัด มุฮัมมัด อบู ซะฮฺว์ หน้า 299)

อิมามอะหฺมัด (ร.ฮ.) กล่าวอธิบายถึงอัล-หะดีษที่ระบุว่า : “กลุ่มชนหนึ่งจากประชาคมของฉันยังคงได้รับการช่วยเหลือ” ว่า : “หากพวกเขาไม่เป็นอะฮฺลุลหะดีษแล้ว ฉันก็ไม่รู้ว่าใครคือพวกเขา (กลุ่มชนที่ได้รับการช่วยเหลือ)” (มะอฺริฟะฮฺ อุลูมิลหะดีษ ; อัล-หากิม หน้า 3)

อัล-อิสฟะรอยีนียฺ (ร.ฮ.) ระบุว่า “อัล-ญะมาอะฮฺ” (กลุ่มชนที่ท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮูอะลัยฮิวะสัลลัม) ใช้ให้ยึดพวกเขาเอาไว้) คือ “อัศหาบุลหะดีษ” (อัต-ตับศีรฺ ฟิดดีน หน้า 114)

อัล-มุบารอกฟูรียฺ (ร.ฮ.) ถ่ายทอดคำกล่าวของอบูนุอัยมฺ (ร.ฮ.) ว่า : อัศหาบุลหะดีษ พวกเขานั้นอินชาอัลลอฮฺคือกลุ่มชนที่รอดพ้น (ฟิรฺเกาะฮฺ นาญิยะฮฺ) มุกอดดิมะฮฺ ตุหฺฟะฮฺ อัล-อะหฺวะซียฺ หน้า 14)

อัส-สะฟารีนียฺ (ร.ฮ.) ระบุว่า อะฮฺลุลอะษัรฺ คือบรรดากลุ่มชนที่ยึดหลักความเชื่อของพวกเขาจากสิ่งที่ถูกรายงานจากพระองค์อัลลอฮฺในคัมภีรฺของพระองค์หรือในสุนนะฮฺของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) หรือสิ่งที่ชัดเจนและถูกต้องจากชนรุ่นสะลัฟ ศอลิหฺที่เป็นเศาะหาบะฮฺและอัต-ตาบิอีนโดยไม่มีการเพิ่มเติมของกลุ่มที่ตามอารมณ์และอุตริกรรมตลอดจนความคิดของพวกที่ใช้ทัศนะ (ละวามิอฺ อัล-อันวารฺ อัล-บะฮียะฮฺ หน้า 64 โดยสรุป)

จริงๆแล้วกลุ่มอัศหาบุลหะดีษ หรือที่เรียก อัล-อาษารียฺมีบรรดาอิมามที่เป็นนักวิชาการหะดีษ (อะอิมมะฮฺ อัล-หะดีษ) จำนวนมากที่เป็นผู้นำโดยบรรดาอิมามเหล่านี้มีชีวิตอยู่ในช่วงเวลาก่อนอิมามอะหฺมัด (ร.ฮ.) แต่เนื่องจากอิมาม อะหฺมัด (ร.ฮ.) เป็นผู้นำของอะฮฺลิสสุนนะฮฺ วัล-ญะมาอะฮฺที่ต่อสู้และยืนหยัดในหลักความเชื่อของอัศหาบุลหะดีษและเผชิญหน้ากับอิทธิพลของกลุ่มอัล-มัวะอฺตะซิละฮฺและพวกญะฮฺมียะฮฺจนกระทั่งกลายเป็นบุคคลสำคัญที่สุดในช่วงเวลาของท่าน นักวิชาการในรุ่นหลังจากท่านจึงถือว่าอิมาม อะหฺมัด (ร.ฮ.) เป็นอิมามของอะฮฺลิสสุนนะฮฺ วัล-ญะมาอะฮฺที่หลักความเชื่อของท่านคือมาตรฐานของการยึดถือและได้รับการถ่ายทอด แม้กระทั่งอิมาม อบุลหะสัน อัล-อัช-อะรียฺ (ร.ฮ.) และทั้งกลุ่มอะชาอิเราะฮฺ และมาตุ ฮีดียะฮฺก็อ้างว่าดำเนินตามแนวทางของอิมามอะหฺมัด (ร.ฮ.)

'''ส่วนหนึ่งจากบรรดาอิมามของอัศหาบุลหะดีษได้แก่ชนรุ่นอัต-ตาบิอีน ที่นคร มะดีนะฮฺ คือ'''

<nowiki>*</nowiki> สะอีด อิบนุ อัล-มุสัยยิบ (ฮ.ศ. 93)

<nowiki>*</nowiki> อบูบักรฺ อิบนุ อัซ-ซุบัยรฺ (ฮ.ศ. 94)

<nowiki>*</nowiki> อบูบักรฺ อิบนุ อับดิรฺเราะหฺมาน อิบนิ อัล-หาริษ อิบนิ ฮิชาม (ฮ.ศ. 94)

<nowiki>*</nowiki> อุบัยดุลลอฮฺ อิบนุ อับดิลลาฮฺ อิบนุ อุตบะฮฺ (ฮ.ศ. 99)

<nowiki>*</nowiki> สาลิม อิบนุ อับดิลลาฮฺ อิบนิ อุมัรฺ (ฮ.ศ. 106)

<nowiki>*</nowiki> สุลัยมาน อิบนุ ยะสารฺ (ฮ.ศ. 94)

<nowiki>*</nowiki> อัล-กอสิม อิบนุ มุฮัมมัด อิบนิ อบีบักรฺ (ฮ.ศ. 112)

<nowiki>*</nowiki> นาฟิอฺ เมาวฺลา อิบนิ อุมัรฺ (ฮ.ศ. 117)

<nowiki>*</nowiki> อิบนุ ชิฮาบ อัซ-ซุฮฺรียฺ (ฮ.ศ. 124) เป็นต้น

'''ที่นครมักกะฮฺ ได้แก่'''

<nowiki>*</nowiki> อิกริมะฮฺ เมาวฺลา อิบนิ อับบาส (ฮ.ศ. 105)

<nowiki>*</nowiki> อะฏออฺ อิบนุ อบีเราะบาหฺ (ฮ.ศ. 115)

<nowiki>*</nowiki> อบู อัซ-ซุบัยรฺ มุฮัมมัด อิบนุ มุสลิม (ฮ.ศ. 128)

'''ที่นครอัล-กูฟะฮฺ ได้แก่'''

<nowiki>*</nowiki> อัช-ชะอฺบียฺ อามิรฺ อิบนุ ชุรอหิล (ฮ.ศ. 104)

<nowiki>*</nowiki> อิบรอฮีม อัน-นะเคาะอียฺ (ฮ.ศ. 96)

<nowiki>*</nowiki> อัล-เกาะมะฮฺ อิบนุ กอยสฺ อิบนิ อับดิลลาฮฺ อัน-นะเคาะอียฺ (ฮ.ศ. 62)

'''ที่นครอัล-บัศเราะฮฺ ได้แก่'''

<nowiki>*</nowiki> อัล-หะสัน อิบนุ อบี อัล-หะสัน อัล-บะเศาะรียฺ (ฮ.ศ. 11)

<nowiki>*</nowiki> มุฮัมมัด อิบนุ สีรีน (ฮ.ศ. 110)

<nowiki>*</nowiki> เกาะตาดะฮฺ อิบนุ ดิอามะฮฺ อัด-เดาสียฺ (ฮ.ศ. 117) เป็นต้น

และในรุ่นถัดมาได้แก่ สุฟยาน อัษ-เษารียฺ , มาลิก อิบนุ อะนัส , อัล-เอาวฺซาอียฺ , ชุอฺบะฮฺ , อิบนุ อัล-มุบารอก , ยะหฺยา อิบนุ สะอีด , อับดุรเราะหฺมาน อิบนุ มะฮฺดียฺ , อิมามอัช-ชาฟิอียฺ และอิมาม อะหฺมัด อิบนุ หัมบัล (เราะหิมะฮุมุลลอฮฺ) เป็นต้น

บรรดานักวิชาการที่เป็นอัศหาบุลหะดีษเหล่านี้เป็นบรรดาอิมามของอะลิสสุนนะฮฺ วัล-ญะมาอะฮฺที่มีชีวิตอยู่ก่อนอิมาม อบุลหะสัน อัล-อัชอะรียฺ (ฮ.ศ. 324) ซึ่งเป็นผู้นำของกลุ่มอะชาอิเราะฮฺ และก่อนอิมาม อบูมันศูร อัล-มาตุรีดียฺ (ฮ.ศ. 333) ผู้นำของกลุ่มอัล-มาตุรีดียะฮฺ

ส่วนมัซฮับอัซ-ซอฮิรียฺนั้น มีอบูสุลัยมาน ดาวูด อิบนุ อะลี อัล-อัศฟะฮานียฺ อัซ-ซอฮิรียฺเป็นผู้ก่อตั้งมัซฮับ บุคคลผู้นี้ถือกำเนิดที่นครอัล-กูฟะฮฺ ปีฮ.ศ. ที่ 202 และเสียชีวิตที่นครแบกแดด ปี ฮ.ศ. 270 เป็นนักท่องจำหะดีษและเป็นนักวิชาการฟิกฮฺระดับมุจญ์ตะฮิด มีมัซฮับเป็นเอกเทศหลังจากที่เคยสังกัดมัซฮับอัช-ชาฟิอียฺในนครแบกแดดมาก่อน

นักวิชาการที่สำคัญในมัซฮับอัซ-ซอฮิรียฺอีกคนหนึ่งคือ อบู มุฮัมมัด อะลี อิบนุ สะอีด อิบนิ หัซม์ อัล-อันดะลูสียฺ (ฮ.ศ. 384-456) เป็นเจ้าของตำราอัล-มุหัลลา ในวิชากฟิกฮฺ และตำราอัล-อิหฺกาม ฟี อุศูลิลลอะหฺกาม ในวิชาอุศูลลุลฟิกฮฺ มัซฮับอัซ-ซอฮิรียฺถือเป็นมัซฮับหนึ่งของอะฮฺลิสุสสุนนะฮ วัล-ญะมาอะฮฺที่เคนแพร่หลายในอัล-อันดุลุส (สเปน) และเริ่มเสื่อมลงในศตวรรษที่ 5 และสูญไปอย่างสมบูณณ์ในศตวรรษที่ 8 แห่งฮิจเราะฮฺศักราช (อัล-ฟิกฮุลอิสลามียฺ ว่า อะดิลละตุฮู ; ดร.วะฮฺบะฮฺ อัซซุหัยลียฺ 1/41 โดยสรุป)


การตะวัสสุลด้วยความศรัทธาและความรักที่มีต่อท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ตลอดจนการปฏิบัติตามสุนนะฮฺของท่าน รวมถึงความรักที่มีต่อบรรดาเอาลิยาอฺของอัลลออฺ (ซ.บ.) อันเป็นความรักเนื่องด้วยเหตุรักอัลลออฺ (ซ.บ.) –อัล-หุบบุ ฟิลลาฮฺ – เป็นสิ่งที่นักวิชาการมีมติเห็นพ้องว่าเป็นสิ่งที่ถูกบัญญัติ (มัชรูอฺ) และส่งเสริม (มุสตะหับ) เพราะเป็นความดี (อะมัล ศอลิหฺ) และเป็นการปฏิบัติที่ศาสนากำหนดว่าเป็นเรื่องจำเป็นเหนือมุสลิมทุกคน

ส่วนการตะวัสสุลด้วยกับตัวของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) รวมถึงบรรดาคนวะลียฺภายหลังการสิ้นชีวิตของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) และบรรดาคนวะลียฺนั้นนักวิชาการมีความเห็นต่างกัน

นักวิชาการฝ่ายหนึ่ง เช่น อิมามอัส-สุบกียฺ ตะกียุดดีน (ฮ.ศ. 683-756) ชัยคฺ อิบนุ หะญัรฺ อัล-ฮัยตะมียฺ (ฮ.ศ. 909-974) และชัยคฺ อะหฺมัด ซัยนียฺ ดะหฺลาน อัล-มักกียะฮฺ (ฮ.ศ. 1232-1304) เป็นต้น มีความเห็นว่า การตะวัสสุลด้วยกับตัวของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) เป็นสิ่งที่อนุญาตในทุกสภาพ ไม่ว่าจะเป็นช่วงเวลาก่อนการกำเนิดของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) หลักกำเนิดตลอดช่วงการมีชีวิตและภายหลังการเสียชีวิตของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ในช่วงเวลาของอาลัม บัรซัค รวมถึงภายหลังการฟื้นคืนชีพในวันกิยามะฮฺ (ชิฟาอุสสะกอม ฟี ซิยาเราะฮฺ คอยริล อะนาม ; ตะกียุดดีน อัส-สุบกียฺ หน้า 160 , วัล-เญาฮัรฺ อัล-มุนัซซอม ฟี ซิยาเราะฮฺ อัล-กอบริชชะรีฟ อัน-นะบะวียฺ อัล-มุกัรรอม : อัล-ฮัยตะมียฺ หน้า 76-77 , อัร-ดุรอรฺ อัส-สะนียะฮฺ ฟีรฺรอด อะลัล วะฮฺฮาบียะฮฺ ; อะหฺมัด ซัยนียฺ ดะหฺลาน หน้า 8-9)

นักวิชการอีกฝ่ายหนึ่ง เช่น อิมาม อิบนุตัยมียะฮฺ , อิบนุ อัล-ก็อยยิม และกลุ่มอัล-วะฮฺฮาบียะฮฺ เป็นต้น มีทัศนะว่าการตะวัสสุลด้วยตัวของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) บารมี (อัลญาฮฺ) และความจำเริญ (บะเราะกะฮฺ) ตลอดจนสิทธิ (หักก์) ของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) และบรรดาคนวะลียฺเป็นสิ่งที่ไม่อนุญาต โดยเฉพาะเมื่อท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) และบรรดาคนวะลียฺได้เสียชีวิตไปแล้ว ต่างฝ่ายต่างก็อ้างหลักฐานและมีมุมมองในการวิเคราะห์เพื่อสนับสนุนทัศนะของฝ่ายตนและหักล้างการวิเคาะห์ของอีกฝ่าย

'''จริงๆ แล้วการตะวัสสุลที่กระทำได้และถูกบัญญัติ (มัชรูอฺ) ซึ่งทั้งสองฝ่ายเห็นตรงกันนั้นมีอยู่หลายชนิด''' เช่น การตะวัสสุลด้วยคุณลักษณะ (ศิฟาต) และพระนามอันไพจิตรของพระองค์อัลลอฮฺ (ซ.บ.) การตะวัสสุลด้วยอะมัลที่ศอลิหฺและการฏออะฮฺ การตะวัสสุลด้วยการขอดุอาอฺของคนศอลิหฺที่ยังมีชีวิตอยู่ให้แก่บุคคลที่ร้องขอ เป็นต้น การตะวัสสุลดังกล่าวไม่มีข้อขัดแย้งในระหว่างบรรดานักวิชาการจึงสมควรเน้นหนักและให้ความสำคัญมากกว่า

<br />


== สำนักหรือทัศนะเกี่ยวกับอุศูลุดดีน (ปรัชญาศาสนา) ==
== สำนักหรือทัศนะเกี่ยวกับอุศูลุดดีน (ปรัชญาศาสนา) ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:10, 19 ตุลาคม 2562

ซุนนี (อาหรับ: سُنِّي) คือนิกายในศาสนาอิสลาม มีชื่อเต็มในภาษาอาหรับว่า อะฮ์ลุสซุนนะฮ์วะอัลญะมาอะฮ์ (อาหรับ: أهل السنة والجماعة, นิยมอ่านว่า อะฮ์ลุสซุนนะฮ์วัลญะมาอะฮ์) เป็นนิกายที่ใหญ่ที่สุดในอิสลาม แบ่งเป็นสำนักหรือมัซฮับย่อย ๆ ออกเป็นหลายมัซฮับ แต่ปัจจุบันเหลือแค่เพียง 4 มัซฮับ นอกจากนี้ยังมีมัซฮับมุสลิมซุนนีที่ไม่ยึดถือมัซฮับ เรียกตนเองว่า พวกซะละฟี

ที่มาของคำ

คำว่า ซุนนี มาจาก อัสซุนนะฮ์ (السنة) แปลว่า คำพูดและการกระทำหรือแบบอย่างของศาสดามุฮัมมัด (ศ) คำว่า "ญะมาอะฮ์" คือ การอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ผู้ที่บัญญัติศัพท์นี้ขึ้นมาคือ อะฮ์มัด บินฮันบัล (ฮ.ศ. 164-241 / ค.ศ. 780-855)

คำว่า อัสซุนนะฮ์ เป็นคำที่นบีมุฮัมมัดมักจะใช้บ่อยครั้งในคำสั่งสอนของท่าน เช่น ในฮะดีษศอฮีฮ์ฟิกฮ์ที่บันทึกโดยอิมามอะฮ์มัด, อัตติรมีซี, อะบูดาวูด และอิบนุมาญะฮ์ ซึ่งท่านนบีได้กล่าวว่า “พวกท่านทั้งหลายจงยึดมั่นใน "แนวทางของฉัน" (سُنَّتِي) และแนวทางของผู้นำที่อยู่ในแนวทางอันเที่ยงธรรมของฉัน (อัลคุละฟาอ์อัรรอชิดูน) ที่จะมาหลังฉัน จงเคร่งครัดในการยึดมั่นบนแนวทางนั้น จงกัดมันด้วยฟันกราม (คืออย่าละทิ้งเป็นอันขาด) และจงหลีกให้พ้นจากอุตริกรรมในกิจการของศาสนา เพราะทุกอุตริกรรมในกิจการศาสนานั้นเป็นการหลงผิด” [1]

อะฮ์ลุสซุนนะฮ์ วะ อัลญะมาอะฮ์ (أَهْلُ السُّنَّةِ وَالْجَمَاعَةِ) ก็คือ ผู้ที่ยึดมั่นในซุนนะฮ์ (แนวทางของท่านนบีมุฮัมมัด) และยึดมั่นในสิ่งที่บรรดากลุ่มชนมุสลิมรุ่นแรกยึดมั่น (บุคคลเหล่านั้นคือบรรดาศ่อฮาบะหฟิกฮ์และบรรดาตาบิอีน) และพวกเขารวมตัวกัน (เป็นญะมาอะฮ์) บนพื้นฐานของซุนนะฮ์ ซึ่งชนกลุ่มนี้อัลลอฮ์ได้กล่าวถึงความประเสริฐของพวกเขาไว้ว่า บรรดาบรรพชนรุ่นแรกในหมู่ผู้อพยพ (ชาวมุฮาญิรีนจากนครมักกะฮ์) และในหมู่ผู้ให้ความช่วยเหลือ (ชาวอันศอรจากนครมะดีนะฮ์) และบรรดาผู้ดำเนินตามพวกเขาด้วยการทำดีนั้น อัลลอฮ์ทรงพอพระทัยในพวกเขา และพวกเขาก็พอใจในพระองค์ด้วย และพระองค์ทรงเตรียมไว้ให้พวกเขาแล้ว ซึ่งสวนสวรรค์อันหลากหลายที่มีแม่น้ำหลายสายไหลผ่านเบื้องล่าง พวกเขาจะพำนักอยู่ในนั้นตลอดกาล นั่นคือชัยชนะอันใหญ่หลวง (ซูเราะหฟิกฮ์อัตเตาบะหฟิกฮ์ : 100) [2]

ประวัติ

อะฮฺลุสสุนนะฮฺ วัล-ญะมาอะฮฺมีอะกีดะฮฺว่าอัลลอฮฺ (ซ.บ.) ทรงมี และพระองค์ทรงมีซาตฺอันสูงส่งและบริสุทธิ์จากข้อบกพร่องทั้งปวง ซาตฺของพระองค์ไม่เหมือนสิ่งใดและไม่มีสิ่งใดเหมือน และพระองค์ทรงมีบรรดาคุณลักษณะอันสูงส่งและบริสุทธิ์จากข้อบกพร่องทั้งปวง บรรดาคุณลักษณะของพระองค์ (อัศ-ศิฟาต) ไม่เหมือนสิ่งใด และไม่มีสิ่งใดเหมือน ไม่มีผู้ใดรู้ถึงหะกีเกาะฮฺ (สภาวะอันเป็นจริง) แห่งซาตฺและบรรดาคุณลักษณะของพระองค์ว่าเป็นอย่างไร?

ผู้ใดกล่าวอ้างว่าพระองค์อัลลอฮฺ (ซ.บ.) ทรงมีซาตฺและบรรดาคุณลักษณะเหมือนหรือคล้ายหรือเทียบได้ได้บรรดาสิ่งที่ถูกสร้าง ผู้นั้นไม่ใช่อะฮฺลุสสุนนะฮฺ วัลญะมาอะฮฺ แต่เรียกผู้นั้นว่าพวก “มุชับบิฮะฮฺ” และผู้ใดกล่าวอ้างว่าพระองค์อัลลอฮฺ (ซ.บ.) ทรงมีซาตฺเป็นเรือนร่าง เป็นวัตถุ เป็นสสาร มีบรรดาอวัยวะและโครงสร้างตลอดจนมีองค์ประกอบเช่นเดียวกับเรือนร่างของบรรดาสิ่งที่ถูกสร้าง ผู้นั้นไม่ใช่อะฮฺลุสสุนนะฮฺ วัล-ญะมาอะฮฺ แต่เรียกผู้นั้นว่า “มุญัสสิมะฮฺ” และชนทั้งสองกลุ่มนี้เป็นพวกอุตริชนและหลงผิด

และอุตริกรรม (บิดอะฮฺ) ของกลุ่มดังกล่าวถือเป็นอุตริกรรมที่ทำให้ตกศาสนา (บิดอะฮฺมุกัฟฟิเราะฮฺ) ไม่อนุญาตให้อะฮฺลุสสุนนะฮฺ วัล-ญะมาอะฮฺละหมาดตามหลังกลุ่มชนดังกล่าว และการละหมาดตามหลังพวกเขาใช้ไม่ได้

ดังน้ัน ผู้ใดกล่าวหาว่าพวกวะฮฺฮาบียฺเป็นพวกมุญัสสิมะฮฺ หรือ มุชับบิฮะฮฺ หรือมีความเชื่อเช่นเดียวกับพวกยะฮูดียฺ ในส่วนสาระสำคัญที่ขัดกับหลักความเชื่อในศาสนาอิสลามที่เด็ดขาดชัดเจนด้วยตัวบทจากอัล-กุรอานและสุนนะฮฺ การละหมาดตามหลังพวกวะฮฺฮาบียฺของบุคคลผู้นั้นย่อมใช้ไม่ได้ เพราะหากพวกวะฮฺฮาบียฺมีความเชื่อเช่นนั้นจริงตามคำกล่าวหาของผู้นั้น ย่อมแสดงว่าพวกวะฮฺฮาบีมิใช่มุสลิม ผลที่ตามมาก็คือการละหมาด 5 เวลาของผู้ที่กล่าวหาและการละหมาดวันศุกร์รวมถึงวันอีดทั้งสองของผู้ที่กล่าวหาตามหลังอิมามมัสญิดอัล-หะรอมทั้งสองซึ่งเป็นวะฮฺฮาบียฺใช้ไม่ได้โดยสิ้นเชิง

การไปเยี่ยม (ซิยาเราะฮฺ) สุสานของคนศอลิหฺหรือโต๊ะวะลียฺและการขอดุอาอฺต่อพระองค์อัลลอฮฺ (ซ.บ.) ที่สุสานหรือมะก็อมของโต๊ะวะลียฺนั้นเป็นสิ่งที่อนุญาตให้กระทำได้ตาม ศาสนบัญญัติ ในตำราสิยัรฺ อะอฺลาม อัน-นุบะลาอฺของอิมามอัซ-ซะฮฺบียฺ (ร.ฮ.) เล่มที่ 17 หน้า 755 ระบุว่า : และการขอดุอาอฺนั้นเป็นสิ่งที่ถูกตอบรับ (มุสตะญาบ) ณ ที่สุสานของบรรดานบีและบรรดาวะลียฺ และในสถานที่อื่นๆ ทั่วไป

แต่สาเหตุของการตอบรับดุอาอฺนั้นคือการมาปรากฏตัวของผู้ขอดุอาอฺ การมีความนอบน้อม และมีการมุ่งมั่นในการวิงวอนขอ และไม่ต้องสงสัยว่าในสถานที่ที่มีความจำเริญ ในมัสญิด และในช่วงเวลาดึกสงัดก่อนรุ่งสาง และที่คล้ายๆ กันนั้น สิ่งดังกล่าวจะเกิดขึ้นแก่ผู้ขอดุอาอฺโดยส่วนใหญ่ และผู้ที่มีความคับขันทุกคน การดุอาอฺของผู้นั้นจะถูกตอบรับ

และชัยคุลอิสลาม อิบนุตัยมียะฮฺ (ร.ฮ.) ระบุไว้ในตำราอิกติฎออฺ อัศ-ศิรอฎิล มุสตะกีม 2/689-691 ว่า “มีนักวิชาการและผู้มีความประเสริฐหลายกลุ่มจากชนรุ่นก่อนและชนรุ่นหลังพวกเขาเลือกที่จะทำการขอดุอาอฺที่สุสาน”

และในริสาละฮฺ อัร-ร็อด อะลา อัล-อัคนาอียฺ หน้า 115 ท่านอิบนุตัยมียะฮฺ (ร.ฮ.) กล่าวว่า “และผู้ศรัทธานั้นเขาอาจจะเลือกการละหมาดหรือการขอดุอาฮฺในสถานที่หนึ่งโดยไม่เลือกอีกสถานที่หนึ่งเพื่อให้หัวใจของเขารวมเป็นหนึ่งในสถานที่นั้นและเกิดความสอบและความนอบน้อม มิใช่เป็นเพราะว่าเขาเชื่อว่าผู้วางบัญญัติศาสนา (ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ถือว่าสถานที่นั้นประเสริฐกว่า เช่น การละหมาดของคนที่อยู่ภายในบ้านของเขาและที่คล้ายกันนั้น ดังนั้น สิ่งที่เหมือนกับเรื่องทำนองนี้เมือ่ไม่เป็นการขอในสิ่งที่ต้องห้ามก็ย่อมไม่เป็นอะไร”

     ดังนั้น การขอดุอาอฺที่สุสานของคนศอลิหฺหรือโต๊ะวะลียฺจึงเป็นสิ่งที่กระทำได้ และมีตัวบทกว้างๆ ส่งเสริมให้ทำการซิยาเราะฮฺและขอดุอาอฺที่สุสานอีกด้วย แต่การขอดุอาอฺที่ว่านี้จะต้องเป็นการขอต่อพระองค์อัลลอฮฺ (ซ.บ.) โดยตรง เพียงแต่ผู้ขออาศัยสถานที่ตรงนั้นเป็นสื่อในการตอบรับดุอาอฺเท่านั้น มิใช่ขอต่อผู้เสียชีวิตในสุสานหรือโต๊ะวะลียฺผู้นั้น เพราะการขอดุอาอฺเป็น    อิบาดะฮฺ และการขอความช่วยเหลือ (อิสติอานะฮฺ / อิสติฆอษะฮฺ) ก็เป็นอิบาดะฮฺที่จำเป็นจะต้องมอบหมายและมุ่งตรงสู่พระองค์อัลลอฮฺ (ซ.บ.) ดังปรากฏในสูเราะอัล-ฟาติหะฮฺที่ว่า إياك نَعْبُدُ وإياك نستعين

ดังนั้น หากบุคคลมุ่งการขอดุอาอฺหรือการขอความช่วยเหลือโดยตรงไปยังโต๊ะวะลียฺ และเชื่อว่าโต๊ะวะลียฺสามารถให้คุณให้โทษได้ด้วยอำนาจหรือบารมีของโต๊ะวะลียฺเอง กรณีนี้ก็เข้าข่ายเป็นชิรฺก์ใหญ่ (ชิรฺก์ อักบัรฺ) ซึ่งทำให้ตกศาสนา (มุรตัด) ได้ วัลอิยาซุบิลลาฮฺ ส่วนการมีรูปโต๊ะวะลียฺเอาไว้ในบ้านนั้นก็ต้องดูที่เจตนาว่ามีไว้เพื่อสิ่งใด

การกำหนดให้มุสลิมได้รู้จักคุณลักษณะ (ศิฟะฮฺ) ของพระองค์อัลลอฮฺ (ซ.บ.) โดยอาศัยแนวทางที่นักวิชาการฝ่ายอุศูลลุดดีน วางเอาไว้เป็นหลักพื้นฐาน เช่น การเรียนรู้และทำความเข้าใจกับศิฟาตฺ 20 ประการนั้นถือเป็นแนวทางหนึ่งที่สามารถนำไปสู่การรู้จักพระองค์อัลลอฮฺ (ซ.บ.) และการศรัทธาที่มั่นคงต่อพระองค์

เพราะหลักพื้นฐานของศิฟาตฺหลัก เช่น อัล-วุญูด , อัล-กิดัม , อัล-บะกออฺ มุคอละฟะตุฮู ลิลหะวาดิษ , อัล-กิยาม บินนัฟสฺ , อัล-หะยาตฺ อัล-อิล์ม์ , อัส-สัมอฺ , อัล-บะศ็อร , อัล-กะลาม , อัล-อิรอดะฮฺ และอัล-กุดเราะฮฺ เป็นต้น ล้วนแล้วแต่มีที่มาจากอัล-กุรอานและอัล-หะดีษ ตลอดจนการอาศัยหลักฐานทางสติปัญญา (ดะลัล อักลียฺ) ซึ่งไม่ขัดด้วยหลักฐานจากตัวบท (ดะลีล นักลียฺ) โดยนักวิชาการฝ่ายอุศูลุดดีนได้กำหนดวางเอาไว้เป็นหลักมูลฐานเพื่อมุ่งสู่การรุ้จักอัลลอฮฺ (ซ.บ.)

อะกีดะฮฺของกลุ่มอะชาอิเราะฮฺเหมือนกับอะกีดะฮฺของอิหม่าม อัซ-ซาฟิอียฺ (ร.ฮ.) หรือไม่?  เพราะกลุ่มอะชาอิเราะฮฺมาทีหลัง  และส่วนหนึ่งเป็นผู้สังกัด มัซฮับอัซ-ซาฟิอียฺ  

ส่วนถ้าถามในเชิง ตัชบีฮฺ อะกีดะฮฺกลุ่มอะชาอิเราะฮฺคือ มุชับบะฮฺ  อะกีดะฮฺของอิหม่ามอัซ-ซาฟิอียฺคือ มุชับบะฮฺบิฮฺ  และ วัจญ์ฮุช-ชะบะฮฺ  จะมีลักษณะที่เด่นชัดและแข็งแรงในมุชับบะฮฺบิฮฺมากกว่า  

จึงสรุปได้ว่าอะกีดะฮฺของ อิหม่ามอัซ-ซาฟิอียฺ เป็นอะกีดะฮฺตามแนวทางอะหฺลิสสุนนะฮฺวัลญะมาอะฮฺของผู้คนในยุคสลัฟศอลิหฺ  รุ่นตาบิอีนและตาบิอิตตาบิอีน อะกีดะฮฺของกลุ่มอะชาอิเราะฮฺซึ่เป็นผู้คนในยุคเคาะลัฟส่วนใหญ่ก็คล้ายคลึงหรือเหมือนกับอะกีดะฮฺของชาวสะลัฟศอลิหฺโดยรวม  ส่วนในข้อปลีกย่อยและบางเรื่องอาจจะมีรายละเอียดที่ต่างกันไป  มากบ้างน้อยบ้างจะว่าเหมือนกับอะกีดะฮฺของอิหม่าม อัซ-ซาฟิอียฺทั้งหมดก็คงไม่ใช่  จะว่าไม่เหมือนเลยก็คงไม่ใช่อีกเช่นกัน  ซึ่งเป็นเรื่องปกติเพราะแม้แต่กลุ่มอะชาอิเราะฮฺก็ใช่ว่าจะมีรายละเอียดข้อปลีกย่อยทางอะกีดะฮฺเหมือนกับฝ่ายมาตุรีดียะฮฺไปเสียทุกเรื่อง  ทั้งๆ ที่อยู่ร่วมสมัยกัน

แนวทางของการศึกษาศิฟาตฺ 20 ประการจึงเป็นเสมือนหลักสูตรแบบหนึ่งในภาควิชาอุศูลุดดีนที่มีรายละเอียดและเนื้อหาเกี่ยวกับศิฟาตฺของพระองค์อัลลอฮฺ (ซ.บ.) โดยเฉพาะ

การมีความเห็นที่ต่างออกไปจากแนวทางของสิ่งที่เป็นเสมือนหลักสูตรนี้ในเชิงของข้อปลีกย่อยย่อมเป็นสิ่งที่สามารถแสดงความคิดเห็นได้ แต่ถ้าจะปฏิเสธโยสิ้นเชิงและกล่าวหาว่า ศิฟาตฺ 20 ประการทั้งหมดเป็นความผิดพลาดและเป็นความล้มเหลวในเรื่องการศรัทธาต่ออัลลอฮฺ (ซ.บ.) กรณีนี้มิอาจยอมรับได้

เพราะถึงแม้ว่านักวิชาการอาจจะมีความเห็นต่างในส่วนของศิฟาตฺบางหมวดจากศิฟาตฺ 20 ประการนั้น แต่ในหมวดของศิฟาตฺพื้นฐาน เช่น อัล-หะยาต อัล-อิลฺม์ , อัล-อิรอดะฮฺ , อัล-กุดเราะฮฺ , อัล-บะกออฺ , อัล-กิยามบินนัฟสิ , อัส-สัมฺอ์ , อัล-บะศ็อรฺ , อัล-มุคอละฟะฮฺ ลิลหะวาดิษ และอัล-กะลาม เป็นต้น ศิฟาตฺเหล่านี้ไม่สามารถปฏิเสธได้เลย แล้วจะว่าเป็นความล้มเหลวได้อย่างไร?

ผู้ใดกล่าวหาในทำนองปฏิเสธว่าการเรียนรู้ศิฟาตฺ 20 ประการ เป็นการทำให้เสียอิหม่าน หรือทำให้อิหม่านของผู้ที่ศึกษาตามแนวทางที่เป็นเสมือนหลักสูตรดังกล่าวประสบความล้มเหลวและหลงผิด ผู้นั้นต้องไปตอบต่อหน้าพระองค์อัลลอฮฺ (ซ.บ.) ในวัน กิยามะฮฺเช่นกัน

หากมีเจตนาให้เกียรติและยกย่องความสำคัญถึงขั้นบูชาก็เป็นสิ่งต้องห้ามและหมิ่นเหม่ต่อการชิริก แต่ถ้าไม่มีเจตนาเช่นนั้น เช่นมีไว้เพื่อรำลึกถึงคุณงามความดีที่เขาเป็นคนรักของอัลลอฮฺ (ซ.บ.) และเราจะปฏิบัติตามในสิ่งที่เป็นคุณงามความดีนั้นเพื่อเราจะได้เป็นคนรักของอัลลอฮฺ (ซ.บ.) เช่นกัน ก็ไม่เป็นอะไร ส่วนว่าควรหรือไม่ควรก็เป็นประเด็นของรูปภาพที่นักวิชาการมีความเห็นต่างกัน

เพราะการละหมาดตามหลังพวกมุญัสสิมะฮฺ ซึ่งเป็นอุตริชนที่ตกศาสนา มิใช่เป็นเพียงมักรูฮฺเท่านั้น เพราะนั่นเป็นข้อกล่าวหาที่มิใช่ประเภทของอุตริกรรมที่ไม่ทำให้ตกศาสนา (บิดอะฮฺ ฆ็อยรฺ มุกัฟฟิเราะฮฺ) หากแต่เป็นข้อกล่าวหาที่ตักฟีรพวกวะฮฺฮาบียฺว่ากลายเป็นผู้ตกศาสนาไปแล้ว ผลที่ตามมาในเรื่องนี้ยังรวมถึงการประกอบพิธิหัจญ์และอุมเราะฮฺ การพิทักษ์รักษาดินแดนต้องห้าม การเดินทางไปศึกษาในมหาวิทยาลัยที่นั่น ซึ่งเป็นของพวกวะฮฺฮาบียฺ และ ฯลฯ

ดังนั้น ผู้ใดตัดสินว่าพวกวะฮฺฮาบียฺเป็นกาฟิรฺ มุรฺตัด (วัล-อิยาซุบิลลาฮฺ) ก็ต้องพิจารณาถึงผลพวงดังกล่าวให้จงหนัก การไม่เห็นด้วยกับอะกีดะฮฺหรือทัศนะของวะฮฺฮาบียฺจึงเป็นเรื่องหนึ่ง และการตัดสินด้วยข้อกล่าวหาว่าพวกวะฮฺฮาบียฺเป็นมุญัสสิมะฮฺซึ่งเป็นกาฟิรฺมุรตัดจึงเป็นอีกเรื่องหนึ่ง เหตุนี้คนที่เรียนมักกะฮฺนานนับสิบปี และคนที่เรียนในมหาวิทยาลัยมะดีนะฮฺ, อุมมุลกุรอ และริยาฎ ต้องเป็นผู้ตอบว่าพวกวะฮาบียฺเป็นมุญัสสิมะฮฺจริงหรือไม่? ส่วนผมไม่ขอตัดสินว่าพวกเขาเป็นเช่นนั้น เพราะการตักฟีรฺเป็นเรื่องใหญ่ที่ผมไม่บังอาจ ส่วนใครตักฟีรฺก็ต้องรับผิดชอบโดยเฉพาะคนที่เคยอยู่เคยเรียนอยู่ที่นั่น

อะฮฺลุลฟัตเราะฮฺ (أَهْلُ الْفَتْرَةِ) หมายถึงกลุ่มชนที่มีชีวิตอยู่และเสียชีวิตลงในช่วงเวลาที่ปลอดจากการส่งนบีหรือรสูลลงมาประกาศศาสนาหรือเป็นช่วงเวลาที่อยู่ระหว่างรสูลท่านหนึ่งกับอีกท่านหนึ่ง และไม่มีหลักฐานที่กำหนดช่วงเวลาระหว่างรสุล 2 ท่าน ไม่ว่าจะเป็นหลักฐานในอัล-กุรอานและสุนนะฮฺ (อะหฺสะนุลกะลาม ฟิลฟะตาวา วัล-อะหฺกาม  ชัยคฺ อะฏียะฮฺ ศอกร์ เล่มที่ 3 ภาคที่ 16 หน้า 82)

นักประวัติศาสตร์บางท่านได้พยายามกำหนดช่วงเวลาที่ปลอดหรือเว้นว่าง (อัล-ฟัตเราะฮฺ) ระหว่างบรรดารสูลด้วยกัน เช่น มุฮัมมัด อิบนุ สะอฺด์ ในตำราอัฏ-เฏาะบะกอตของท่านได้ระบุรายงานจากท่านอิบนุ อับบาส (ร.ฎ.) ว่า : ปรากกว่าระหว่างมูซา อิบนุ อิมรอน (อ.ล.) และอีซา อิบนุ มัรยัม (อ.ล.) คือ 1,700 ปี โดยไม่ปรากฏว่าระหว่างนบีทั้งสองท่านมีปลอดหรือว่างเว้นจากการส่งนบีมาแต่อย่างใด เพราะระหว่างนบีทั้งสองนั้นมีบรรดานบีของพงษ์พัยธุ์อิสรออีลถูกส่งมาจำนวน 1,000 ท่าน นอกเหนือจากรสูลที่ถูกส่งมาจากชนกลุ่มอื่นที่มิใช่พงษ์พันธุ์อิสรออีล

และปรากฏว่าระหว่างการถือกำเนิดของอีซา (อ.ล.) และนบีมุฮัมมัด (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) นั้นคือ 509 ปี  โดยมีนบี  3 ท่านถูกส่งมาในช่วงต้นของระยะเวลานัน ดังปรากฏในสูเราะฮฺยาสีน อายะฮฺที่  14 และปรากฏว่าช่วงปลอดหรือว่างเว้นที่ไม่มีรสูลท่านใดถูกส่งมาในช่วงเวลานั้นคือ 434  ปี

อัล-กัลบียฺระบุว่า แท้จริงระหว่างอีซา (อ.ล.) และมุฮัมมัด (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) คือ 569 ปี  และระหว่างนบีทั้งสองนั้นมีนบี 4 ท่าน ท่านหนึ่งเป็นชาวอาหรับจากชนเผ่าบะนูอับส์ คือ คอลิด อิบนุ สินาน อัล-กุชัยรียฺกล่าวว่า : และในเรื่องในทำนองนี้จะรู้ไม่ได้นอกเสียจากด้วยการบอกเล่าที่สัจจริง

และเกาะตาดะฮฺกล่าวว่า : ปรากฏว่าระหว่างอีซา (อ.ล.) และมุฮัมมัด (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) นั้นคือ 600 ปี มุกอติล , อัฏ-เฏาะหาก และวะฮ์บฺ อิบนุ มุนับบิฮฺ ก็กล่าวตามนี้ เว้นเสียแต่ว่าวะฮ์บฺได้เพิ่มอีก  (คือ 620 ปี) และจากอัฏ-เฏาะหากระบุว่า 430  ปีเศษอีกเช่นกัน

และอิบนุ สะอฺด์ระบุจากอิกริมะฮฺว่า : ระหว่างอาดัม (อ.ล.) และนัวหฺ (อ.ล.) 10 ศตวรรษทั้งหมดอยู่บนศาสนาอิสลาม อิบนุ สะอฺด์กล่าวว่า : มุอัมมัด อิบนุ อัมร์ อิบนิ วากิด อัล-อัสละมียฺได้บอกให้เราทราบจากหลายคนว่า : ระหว่างอาดัม (อ.ล.) และนัวหฺ (อ.ล.) 10 ศตวรรษ หนึ่งศตวรรษคือร้อยปี และอิบรอฮีม (อ.ล.) 10 ศตวรรษ หนึ่งศตวรรษคือร้อยปี และระหว่างอิบรอฮีม (อ.ล.) และมูซา อิบนุ อิมรอน (อ.ล.) 10  ศตวรรษ หนึ่งศตวรรษคือร้อยปี

ดังนั้นคือช่วงเวลาระหว่างอาดัม (อ.ล.) และมุฮัมมัด (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) จากบรรดาศตวรรษและบรรดาปี (ตัฟสีรฺ อัล-กุรฏุบียฺ เล่มที่ 6 หน้า 121 ) ชัยคฺ อะฏียะฮฺ ศอกร์ (ร.ฮ.) กล่าวว่า : ทั้งหมดเป็นการบอกเล่าที่ไม่มีหลักฐานที่เชื่อถือได้มาสนับสนุน (อะหฺสะนุลกะลาม ฟิล ฟะตาวา วัล-อะหฺกาม เล่มที่ 3 ภาคที่ 14 หน้า 82-83)

อิมามมุสลิมระบุสายรายงานในเศาะฮีหฺของท่านว่า : อบูบักรฺ อิบนุ อบีชัยบะฮฺเล่าให้เราฟังว่า อัฟฟานเล่าให้เราฟังว่า หัมมาด อิบนุ สละมะฮฺ เล่าให้เราฟังจากษาบิต จากท่านอะนัส (ร.ฎ.) ว่า : แท้จริงมีชายคนหนึ่งกล่าวว่า โอ้ท่านรสูลุลลอฮฺ บิดาของฉันอยู่ที่ไหน? ท่านรสูลุลลอฮฺ (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) กล่าวว่า : “ในนรกภูมิ” แล้วเมื่อชายผู้นั้นหันท้ายทอยของเขาในสภาพที่จากไป ท่านก็เรียกเขาผู้นั้นแล้วกล่าวว่า : “แท้จริงบิดาของฉันและบิดาของท่านอยู่ในนรกภูมิ” (เศาะฮีหฺมุสลิม บิชัรหิ อัน-นะวาวียฺ เล่มที่ 3 หน้า 79 , อบูดาวูด เล่มที่ 18 หน้า  251 , 252 อะหฺมัด ในอัล-มุสนัด เล่มที่  3/119)

และมีรายงานจากอบูฮุรอยเราะฮฺ (ร.ฮ.) ว่า : ท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ได้เยี่ยมสุสานมารดาของท่าน ท่านก็ร้องไห้ และทำให้ผู้ที่ห้อมล้อมท่านร้องไห้ ท่านกล่าวว่า : ฉันขออนุญาตพระผู้อภิบาลของฉันในการที่ฉันจะขอลุแก่โทษแก่นาง พระองค์ก็ไม่อนุญาตให้แก่ฉัน และฉันได้ขออนุญาตพระองค์ในการที่ฉันจะเยี่ยมสุสานของนาง พระองค์ก็ทรงอนุญาตให้แก่ฉัน ดังนั้น พวกท่านจงเยี่ยมสุสานเถิด เพราะมันจะทำให้รำลึกถึงความตาย” (มุสลิม 7/45  , อบูดาวูด 14/202 , อัน-นะสาอียฺ 4/90 , อิบนุมาญะฮฺ  1/501 และอัล-หากิมในอัล-มุสตัดรอก 1/375)

ในตัวบทของหะดีษแรก (ที่ระบุถึงบิดาของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) อิมาม อัน-นะวาวียฺ (ร.ฮ.) ได้อธิบายว่า : ในหะดีษบ่งว่า แท้จริง บุคคลที่ตายลงบนการปฏิเสธ (กุฟร์) ผู้นั้นอยู่ในนรกภูมิ และความเป็นญาติใกล้ชิดของเหล่าผู้ใกล้ชิดอัลลอฮฺจะไม่ให้ประโยชน์แก่ผู้นั้น และในหะดีษบ่งว่า แท้จริงผู้ที่เสียชีวิตในช่วงเวลาที่ปลอด (อัล-ฟัตเราะฮฺ) บนสิ่งที่ปรากฏว่าชาวอาหรับอยู่บนสิ่งนั้นจากการเคารพรูปเจว็ดทั้งหลาย ผู้นั้นย่อมเป็นหนึ่งจากชาวนรก และสิ่งนี้มิใช่การลงโทษก่อนการเรียกร้อง (ดะอฺวะฮฺ) มาถึง เพราะแท้จริงพวกเขาเหล่านี้ (ชาวอาหรับ) ปรากฏว่า แน่แท้การเรียกร้องของนบีอิบรอฮีม (อ.ล.) และนบีท่านอื่นๆ (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิมวะสัลลัม) ได้มาถึงพวกเขาแล้ว” (เศาะฮีหฺมุสลิม บิชัรฺหิ อัน-นะวาวียฺ 3/79)

เมื่อมีหะดีษที่ถูกต้องระบุมาในเรื่องนี้ก็ให้ว่าไปตามสิ่งที่หะดีษระบุ ชัยคฺ อะฏียะฮฺ ศอกร์ (ร.ฮ.) กล่าวว่า : คำถามในทำนองนี้ (คือถามถึงบุพการีย์ทั้งสองของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ว่าเป็นอย่างไร) ไม่มีผลประโยชน์อันใดในด้านการปฏิบัติ และไม่มีความจำเป็นสำหรับการพูดยืดยาวในเรื่องนี้ แน่แท้ บุพการีย์ทั้งสองของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ได้กลับไปยังพระผู้อภิบาลของท่านทั้งสองแล้ว และพระองค์ทรงรู้ดีถึงสภาพของท่านทั้งสอง

และไม่สมควรที่การมีทัศนะคติที่ดีและความรักของเราที่มีต่อท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) จะมานำพาให้เราต้องระบุบรรดาอัคบารฺ (เรื่องราวที่มีการบอกเล่า) ซึ่งหลักฐานที่แข็งแรงได้ทำให้บรรดาอัคบารฺเหล่านั้นบกพร่อง เช่นการบันดาลใจให้บุคคลทั้งสองฟื้นคืนชีพหลังความตายเพื่อศรัทธาต่อท่านรสูล (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม)...” (อะหฺสะนุลกะลาม ฟิลฟะตะวา วัล-อะหฺกาม : เล่มที่ 3 ภาคที่ 20 หน้า692 ,693 โดยสรุป)

เชื่อและศรัทธาว่า พระองค์อัลลอฮฺ (ซ.บ.) ทรงมีคุณลักษณะ (ศิฟาต) และพระนาม (อัสมาอฺ) จริงๆ ตามมที่มีระบุในอัล-กุรอานและบรรดาหะดีษที่เศาะฮีหฺ อันเป็นคุณลักษณะ (ศิฟาต) ตามที่พระองค์ทรงระบุไว้แก่พระองค์เอง และตามที่ท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ได้ระบุคุณลักษณะนั้นๆ แก่พระองค์โดยไม่มีวิธีการ (بَلَاكَيْف) หรือการอธิบายว่าเป็นอย่างไร? (بِلَاتَكْيِيْف) หรือการเปรียบว่าเหมือน (بِلَاتَمْثِيْل) หรือการเทียบว่าคล้าย (بِلَاتَشْبِيْهٍ) หรือการตีความเป็นอื่น (بِلَاتَأْوِيْل) หรือการบิดเบือน (بِلَاتَحْرِيْفٍ) หรือการปฏิเสธคุณลักษณะนั้นว่าพระองค์ปลอดจากการมีคุณลักษระ (بِلَاتَعْطِيْلٍ) พร้อมกับปักใจว่าคุณลักษณะของพระองค์ไม่มีสิ่งใดเหมือน ไม่เหมือนสิ่งใด

เรายืนยันคุณลักษณะ (ศิฟาต) นั้นว่าเป็นคุณลักษระ (ศิฟะฮฺ) จริงๆ ของพระองค์ตามที่พระองค์ทรงระบุคุณลักษณะนั้นแก่พระองค์เอง และตามที่ท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ระบุคุณลักษณะนั้นแก่พระองค์ เมื่อพระองค์และนบีของพระองค์ระบุว่า พระองค์ทรงมีพระหัตถ์ และพระองค์ทรงมีพระพักต์ เป็นต้น เราก็ยืนยันตามที่พระองค์และนบีของพระองค์ระบุ พระหัตถ์และพระพักตร์ของพระองค์เป็นคุณลักษณะจริงๆ ของพระองค์ ความหมายของคำว่า “พระหัตถ์” (اليد) และคำว่า พระพักตร์” (الوَجه) ตามมูลภาษาแปลได้เพียงแค่นั้น แต่ความจริงแท้ของความหมาย (หะกีเกาะฮฺ อัล-มุอฺนา อัล-มุรอด) ของคำที่บ่งคุณลักษณะนั้นไม่มีผู้ใดรู้นอกจากพระองค์

เพราะคำว่า พระหัตถ์และพระพักตร์ของพระองค์เป็นคุณลักษณะ (ศิฟะฮฺ) ไม่ใช่ความหมายตามมูลภาษาที่หมายถึงอวัยวะหรือส่วนประกอบ เมื่อพระพักตร์และพระหัตถ์ของพระองค์เป็นคุณลักษณะ (ศิฟะฮฺ) ของพระองค์ที่ไม่ใช่อวัยวะตามมูลภาษา แต่เป็นคุณลักษณะที่ไม่มีสิ่งใดเหมือนไม่เหมือนสิ่งใด เราก็เชื่อและยืนยันว่าพระองค์ทรงมีคุณลักษณะตามนั้นคือ พระองค์ทรงมี พระพักต์และพระหัตถ์เป็นคุณลักษณะจริงตามที่พระองค์และนบีของพระองค์ระบุไว้ในอัล-กุรอาน และหะดีษที่เศาะฮีหฺ

มิใช่เชื่อตามความหมายจริงตามรากศัพท์ของคำ (มะอฺนา หะกีกียฺ) เฉยๆ แต่เชื่อตามที่พระองค์และนบีของพระองค์บอกถึงคุณลักษณะนั้นหรือเชื่อตามที่พระองค์และนบีของพระองค์มีประสงค์ต่อความหมายนั้นควบคู่กับการปฏิเสธความเหมือน ความคล้าย วิธีการ และการอธิบายในเชิงตีความ พร้อมกับมอบหมาย (ตัฟวีฏ) ความรู้เกี่ยวกับหะกีเกาะฮฺ (ความจริงแท้) แห่งคุณลักษณะ (ศะฟะฮฺ) นั้นไปยังความรู้ของพระองค์ นี่คือความเชื่อในเรื่องการยืนยันคุณลักษณะ (إثْبَاتُ الصِّفَات) ของพระองค์อัลลอฮฺ (ซ.บ.) ที่ควบคู่กับการปฏิเสธความเหมือน (نَفْيُ التَّشْبِيْه)ตามแนวทางของสลัฟศอลิหฺที่นักวิชาการอธิบายไว้

มีรายงานจากท่านอับดุลลอฮฺ อิบนุ อัมร์ อิบนิ อัล-อาศ (ร.ฎ.) ว่า : ท่านรสูลุล ลอฮฺ (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ได้กล่าวขณะที่ท่านถูกถามถึงกลุ่มที่รอดพ้น (อัล-ฟิรฺเกาะฮฺ อัน-นาญิยะฮฺ) ว่าคือผู้ใด? ท่านกล่าวว่า :

مَاأَنَاعَلَيْهِ وَأَصْحَابِيْ

“คือสิ่งที่ฉันและบรรดาสหายของฉัน (สาวก) ดำรงอยู่บนสิ่งนั้น”

(อัต-ติรฺมิซียฺ : 2643)

ในสายรายงานของหะดีษบทนี้ มีอับดุลเราะหฺมาน อิบนุ ซิยาด อัล-อัฟรีกียฺ ซึ่ง อิมามอัซ-ซะฮะบียฺ (ร.ฮ.ป ระบุว่า บรรดานักวิชาการหะดีษถือว่าเขาผู้นี้อ่อน (เฎาะอีฟ) (ฟัยฎุลเกาะดีร ; อัล-มินาวียฺ 5/347)

อิมามอัช-ชาฏิบียฺ (ร.ฮ.) กล่าวถึงนัยของหะดีษบทนี้ว่า ท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ตอบว่า กลุ่มที่รอดพ้น (ฟิรฺเกาะฮฺ นาญิยะฮฺ) คือบุคคลที่มีคุณลักษณะด้วยบรรดาคุณลักษณะของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) และบรรดาคุณลักษณะของเหล่าเศาะหาบะฮฺของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) สิ่งดังกล่าวเป็นที่รับรู้ในหมู่พวกเขาโดยไม่มีสิ่งใดซ่อนเร้น..

โดยสรุปก็คือ บรรดาเศาะหาบะฮฺคือบรรดาผู้ดำเนินตามท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ได้รับทางนำด้วยทางนำของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) มีการสรรเสริญชื่นชมเหล่าเศาะหาบะฮฺในอัล-กุรอาน และท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ก็ชื่นชมเหล่าเศาะหาบะฮฺ และอันที่จริงมารยาทของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) นั้นคือ อัล-กุรอาน ดังนั้นอัล-กุรอานคือสิ่งที่ถูกปฏิบัติตามโดยข้อเท็จจริง และ สุนนะฮฺก็มาอธิบายอัล-กุรอาน ผู้ที่ตามสุนนะฮฺก็คือผู้ที่ตามอัล-กุรอาน และบรรดาเศาะหาบะฮฺ คือกลุ่มชนที่สมควรที่สุดด้วยสิ่งนั้น ดังนั้นทุกคนที่ดำเนินตามเหล่าเศาะหาบะฮฺก็คือผู้หนึ่งจากกลุ่มที่รอดพ้น..” (อัล-อิอฺติศอม 2/252)

ในบางส่วนของหะดีษเรื่องนี้ระบุว่า กลุ่มชนที่รอดพ้นคือ อัล-ญะมาอะฮฺ ซึ่งอิมามอัช-ชาฏิบียฺ (ร.ฮ.) ระบุว่า มีทัศนะ 5 ทัศนะที่อธิบายคำว่า อัล-ญะมาอะฮฺคือ

1.มหาชนจากชาวอิสลาม

2.กลุ่มของบรรดาอิมามมุจญ์ตะฮิด

3.เศาะหาบะฮฺโดยเฉพาะ

4.กลุ่มชาวอิสลามที่ตรงกันข้ามกลุ่มลัทธิและศาสนาอื่น

5.กลุ่มประชาคมมุสลิมที่รวมตัวกันตามผู้นำ (อิมาม) ที่ปฏิบัติสอดคล้องกับคัมภีร์อัล-กุรอานและสุนนะฮฺ (อัล-อิอฺติศอม 2/260 โดยสรุป)

บรรดาทัศนะเหล่านี้มิอาจจำกัดว่าเป็นชนกลุ่มหนึ่งกลุ่มใดโดยเฉพาะ เพราะอัล-ญะมาอะฮฺมิใช่จำนวนของผู้คนที่ถูกจำกัดเอาไว้ แต่เป็นองค์รวมของคุณลักษณะที่ผู้ใดมีคุณลักษณะดังกล่าวก็ถือว่าผู้นั้นเป็นส่วนหนึ่งจากประชาคมมุสลิม (เราะสาอิล อัล-อิคออฺ ; นาดิรฺ อัน-นูรียฺ หน้า 50)

อิมามอัน-นะวาวียฺ (ร.ฮ.) กล่าวว่า : อนุญาตในการที่กลุ่มชนซึ่งได้รับการช่วยเหลือจะเป็นกลุ่มชนที่หลากหลายจากชนิดต่างๆ ของผู้ศรัทธา ซึ่งมีทั้งผู้กล้าหาญ และผู้ที่มีความรอบรู้ในการทำสงคราม นักวิชาการฟิกฮฺ นักหะดีษ นักตัฟสีรฺ ผู้ที่ดำรงตนด้วยการสั่งใช้ให้กระทำความดีและห้ามปรามจากความชั่ว ผู้มีความสมถะและนักทำอิบาดะฮฺ ไม่จำเป็นว่าพวกเขาต้องรวมตัวกันอยู่ในดินแดนเดียว แต่เป็นไปได้ในการพวกเขาจะรวมตัวอยู่ในดินแดนเดียวหรือกระจายกันอยู่ในดินแดนต่างๆ ของโลก เป็นไปได้ที่พวกเขาจะรวมตัวอยู่ในเมืองๆ เดียว โดยอยู่ในบางส่วนของเมืองโดยที่บางส่วนของเมืองไม่มีพวกเขาอยู่ และเป็นไปได้ว่าโลกจะปลอดจากบางส่วนของกลุ่มชนนี้เป็นลำดับจวบจนกระทั่งไม่เหลืออยู่นอกจากกลุ่มชนเดียวในดินแดนเดียว เมื่อพวกเขาไม่เหลืออยู่อีก ลิขิตของอัลลอฮฺก็มาถึง...” (ฟัตหุลบารียฺ 13/295)

ดร.มุฮัมมัด อับดุลกอดิรฺ อบูฟาริส กล่าวว่า : “ชนกลุ่มที่รอดพ้น (ฟิรฺเกาะฮฺ นาญิยะฮฺ) ซึ่งท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) บอกเอาไว้คือกลุ่มชนที่ยึดมั่นในศาสนาอิสลามซึ่งถูกประมวลไว้ในกิตาบุลลอฮฺและสุนนะฮฺของท่านรสูล (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ตลอดจนอิจญ์มาอฺของเหล่าเศาะหาบะฮฺและสิ่งที่แตกแขนงเป็นข้อปลีกย่อมมาจากสิ่งดังกล่าว และกลุ่มที่รอดพ้นนี้ คืออะฮฺลุสสุนนะฮฺ วัล-ญะมาอะฮฺ

ดังนั้นผู้ใดจากชาวมุสลิมที่เสียชีวิตบนการให้เอกภาพ (เตาหีด) ไม่ว่าผู้นั้นจะเป็นพวกอิควาน อัล-มุสลิมีน หรือกลุ่มอัต-ตับลีฆหรือกลุ่มศูฟียฺหรืออลุ่มอัส-สะละฟียฺ หรือพรรคอิสลามเพื่อการปลดแอกหรืออื่นจากพวกเขา ทั้งปัจเจกบุคคลและกลุ่มคณะบุคคล ผู้นั้นเป็นส่วนหนึ่งจากกลุ่มชนที่รอดพ้น...” (ฟะตาวา ชัรฺอียะฮฺ ; ดร.มุฮัมมัด อับดุลกอดิรฺ อบูฟาริส เล่มที่ 2 หน้า 857-858) กลุ่มอัล-อาษารียะฮฺ (الآثاريَّة) ที่ถามถึงคือกลุ่ม “อัศหาบุลหะดีษ” (أَصْحَابُ الْحَدِيْثِ) ซึ่งเป็นกลุ่มนักปราชญ์ของอะฮฺลุสสุนนะฮฺ วัล-ญะมาอะฮฺที่เป็นนักรายงานหะดีษท่องจำและแต่งตำรที่เกี่ยวกับหะดีษ ยึดอัล-กุรอานและอัล-หะดีษเป็นหลักทั้งในด้านหลักการยึดมั่น (อะกีดะฮฺ) หลักนิติธรรม (ชะรีอะฮฺ) และจริยธรรม (มะการิม อัล-อัคลาก)

อิมามอัล-บุวัยฏียฺ (ร.ฮ.) กล่าวว่า : ฉันเคยได้ยินอัช-ชาฟิอียฺ (ร.ฮ.) กล่าวว่า : “พวกท่านจงยึดบรรดาอัศหาบุลหะดีษ เพราะแท้จริงพวกเขาเป็นกลุ่มชนที่ถูกต้องที่สุด”

และอิมามอัช-ชาฟิอียฺ (ร.ฮ.) กล่าวอีกว่า : คราใดที่ฉันเห็นคนหนึ่งจากอัศหาบุลหะดีษ ก็ประหนึ่งดังว่าฉันได้เห็นคนหนึ่งจากบรรดาสาวกของท่านรสูลลุลลอฮฺ (ศ็อลลัลลอฮุอุลัยฮิวะสัลลัม) ขอพระองค์อัลลอฮฺ (ซ.บ.) ทรงตอบแทนความดีให้แก่พวกเขา (อัศหาบุลหะดีษ) พวกเขาได้รักษาหลักมูลฐานไว้ให้แก่พวกเรา ดังนั้นพวกเขาจึงมีความดีความชอบเหนือพวกเรา” (อัล-หะดีษ วัลมุหัดดัษูน ; มุฮัมมัด มุฮัมมัด อบู ซะฮฺว์ หน้า 299)

อิมามอะหฺมัด (ร.ฮ.) กล่าวอธิบายถึงอัล-หะดีษที่ระบุว่า : “กลุ่มชนหนึ่งจากประชาคมของฉันยังคงได้รับการช่วยเหลือ” ว่า : “หากพวกเขาไม่เป็นอะฮฺลุลหะดีษแล้ว ฉันก็ไม่รู้ว่าใครคือพวกเขา (กลุ่มชนที่ได้รับการช่วยเหลือ)” (มะอฺริฟะฮฺ อุลูมิลหะดีษ ; อัล-หากิม หน้า 3)

อัล-อิสฟะรอยีนียฺ (ร.ฮ.) ระบุว่า “อัล-ญะมาอะฮฺ” (กลุ่มชนที่ท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮูอะลัยฮิวะสัลลัม) ใช้ให้ยึดพวกเขาเอาไว้) คือ “อัศหาบุลหะดีษ” (อัต-ตับศีรฺ ฟิดดีน หน้า 114)

อัล-มุบารอกฟูรียฺ (ร.ฮ.) ถ่ายทอดคำกล่าวของอบูนุอัยมฺ (ร.ฮ.) ว่า : อัศหาบุลหะดีษ พวกเขานั้นอินชาอัลลอฮฺคือกลุ่มชนที่รอดพ้น (ฟิรฺเกาะฮฺ นาญิยะฮฺ) มุกอดดิมะฮฺ ตุหฺฟะฮฺ อัล-อะหฺวะซียฺ หน้า 14)

อัส-สะฟารีนียฺ (ร.ฮ.) ระบุว่า อะฮฺลุลอะษัรฺ คือบรรดากลุ่มชนที่ยึดหลักความเชื่อของพวกเขาจากสิ่งที่ถูกรายงานจากพระองค์อัลลอฮฺในคัมภีรฺของพระองค์หรือในสุนนะฮฺของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) หรือสิ่งที่ชัดเจนและถูกต้องจากชนรุ่นสะลัฟ ศอลิหฺที่เป็นเศาะหาบะฮฺและอัต-ตาบิอีนโดยไม่มีการเพิ่มเติมของกลุ่มที่ตามอารมณ์และอุตริกรรมตลอดจนความคิดของพวกที่ใช้ทัศนะ (ละวามิอฺ อัล-อันวารฺ อัล-บะฮียะฮฺ หน้า 64 โดยสรุป)

จริงๆแล้วกลุ่มอัศหาบุลหะดีษ หรือที่เรียก อัล-อาษารียฺมีบรรดาอิมามที่เป็นนักวิชาการหะดีษ (อะอิมมะฮฺ อัล-หะดีษ) จำนวนมากที่เป็นผู้นำโดยบรรดาอิมามเหล่านี้มีชีวิตอยู่ในช่วงเวลาก่อนอิมามอะหฺมัด (ร.ฮ.) แต่เนื่องจากอิมาม อะหฺมัด (ร.ฮ.) เป็นผู้นำของอะฮฺลิสสุนนะฮฺ วัล-ญะมาอะฮฺที่ต่อสู้และยืนหยัดในหลักความเชื่อของอัศหาบุลหะดีษและเผชิญหน้ากับอิทธิพลของกลุ่มอัล-มัวะอฺตะซิละฮฺและพวกญะฮฺมียะฮฺจนกระทั่งกลายเป็นบุคคลสำคัญที่สุดในช่วงเวลาของท่าน นักวิชาการในรุ่นหลังจากท่านจึงถือว่าอิมาม อะหฺมัด (ร.ฮ.) เป็นอิมามของอะฮฺลิสสุนนะฮฺ วัล-ญะมาอะฮฺที่หลักความเชื่อของท่านคือมาตรฐานของการยึดถือและได้รับการถ่ายทอด แม้กระทั่งอิมาม อบุลหะสัน อัล-อัช-อะรียฺ (ร.ฮ.) และทั้งกลุ่มอะชาอิเราะฮฺ และมาตุ ฮีดียะฮฺก็อ้างว่าดำเนินตามแนวทางของอิมามอะหฺมัด (ร.ฮ.)

ส่วนหนึ่งจากบรรดาอิมามของอัศหาบุลหะดีษได้แก่ชนรุ่นอัต-ตาบิอีน ที่นคร มะดีนะฮฺ คือ

* สะอีด อิบนุ อัล-มุสัยยิบ (ฮ.ศ. 93)

* อบูบักรฺ อิบนุ อัซ-ซุบัยรฺ (ฮ.ศ. 94)

* อบูบักรฺ อิบนุ อับดิรฺเราะหฺมาน อิบนิ อัล-หาริษ อิบนิ ฮิชาม (ฮ.ศ. 94)

* อุบัยดุลลอฮฺ อิบนุ อับดิลลาฮฺ อิบนุ อุตบะฮฺ (ฮ.ศ. 99)

* สาลิม อิบนุ อับดิลลาฮฺ อิบนิ อุมัรฺ (ฮ.ศ. 106)

* สุลัยมาน อิบนุ ยะสารฺ (ฮ.ศ. 94)

* อัล-กอสิม อิบนุ มุฮัมมัด อิบนิ อบีบักรฺ (ฮ.ศ. 112)

* นาฟิอฺ เมาวฺลา อิบนิ อุมัรฺ (ฮ.ศ. 117)

* อิบนุ ชิฮาบ อัซ-ซุฮฺรียฺ (ฮ.ศ. 124) เป็นต้น

ที่นครมักกะฮฺ ได้แก่

* อิกริมะฮฺ เมาวฺลา อิบนิ อับบาส (ฮ.ศ. 105)

* อะฏออฺ อิบนุ อบีเราะบาหฺ (ฮ.ศ. 115)

* อบู อัซ-ซุบัยรฺ มุฮัมมัด อิบนุ มุสลิม (ฮ.ศ. 128)

ที่นครอัล-กูฟะฮฺ ได้แก่

* อัช-ชะอฺบียฺ อามิรฺ อิบนุ ชุรอหิล (ฮ.ศ. 104)

* อิบรอฮีม อัน-นะเคาะอียฺ (ฮ.ศ. 96)

* อัล-เกาะมะฮฺ อิบนุ กอยสฺ อิบนิ อับดิลลาฮฺ อัน-นะเคาะอียฺ (ฮ.ศ. 62)

ที่นครอัล-บัศเราะฮฺ ได้แก่

* อัล-หะสัน อิบนุ อบี อัล-หะสัน อัล-บะเศาะรียฺ (ฮ.ศ. 11)

* มุฮัมมัด อิบนุ สีรีน (ฮ.ศ. 110)

* เกาะตาดะฮฺ อิบนุ ดิอามะฮฺ อัด-เดาสียฺ (ฮ.ศ. 117) เป็นต้น

และในรุ่นถัดมาได้แก่ สุฟยาน อัษ-เษารียฺ , มาลิก อิบนุ อะนัส , อัล-เอาวฺซาอียฺ , ชุอฺบะฮฺ , อิบนุ อัล-มุบารอก , ยะหฺยา อิบนุ สะอีด , อับดุรเราะหฺมาน อิบนุ มะฮฺดียฺ , อิมามอัช-ชาฟิอียฺ และอิมาม อะหฺมัด อิบนุ หัมบัล (เราะหิมะฮุมุลลอฮฺ) เป็นต้น

บรรดานักวิชาการที่เป็นอัศหาบุลหะดีษเหล่านี้เป็นบรรดาอิมามของอะลิสสุนนะฮฺ วัล-ญะมาอะฮฺที่มีชีวิตอยู่ก่อนอิมาม อบุลหะสัน อัล-อัชอะรียฺ (ฮ.ศ. 324) ซึ่งเป็นผู้นำของกลุ่มอะชาอิเราะฮฺ และก่อนอิมาม อบูมันศูร อัล-มาตุรีดียฺ (ฮ.ศ. 333) ผู้นำของกลุ่มอัล-มาตุรีดียะฮฺ

ส่วนมัซฮับอัซ-ซอฮิรียฺนั้น มีอบูสุลัยมาน ดาวูด อิบนุ อะลี อัล-อัศฟะฮานียฺ อัซ-ซอฮิรียฺเป็นผู้ก่อตั้งมัซฮับ บุคคลผู้นี้ถือกำเนิดที่นครอัล-กูฟะฮฺ ปีฮ.ศ. ที่ 202 และเสียชีวิตที่นครแบกแดด ปี ฮ.ศ. 270 เป็นนักท่องจำหะดีษและเป็นนักวิชาการฟิกฮฺระดับมุจญ์ตะฮิด มีมัซฮับเป็นเอกเทศหลังจากที่เคยสังกัดมัซฮับอัช-ชาฟิอียฺในนครแบกแดดมาก่อน

นักวิชาการที่สำคัญในมัซฮับอัซ-ซอฮิรียฺอีกคนหนึ่งคือ อบู มุฮัมมัด อะลี อิบนุ สะอีด อิบนิ หัซม์ อัล-อันดะลูสียฺ (ฮ.ศ. 384-456) เป็นเจ้าของตำราอัล-มุหัลลา ในวิชากฟิกฮฺ และตำราอัล-อิหฺกาม ฟี อุศูลิลลอะหฺกาม ในวิชาอุศูลลุลฟิกฮฺ มัซฮับอัซ-ซอฮิรียฺถือเป็นมัซฮับหนึ่งของอะฮฺลิสุสสุนนะฮ วัล-ญะมาอะฮฺที่เคนแพร่หลายในอัล-อันดุลุส (สเปน) และเริ่มเสื่อมลงในศตวรรษที่ 5 และสูญไปอย่างสมบูณณ์ในศตวรรษที่ 8 แห่งฮิจเราะฮฺศักราช (อัล-ฟิกฮุลอิสลามียฺ ว่า อะดิลละตุฮู ; ดร.วะฮฺบะฮฺ อัซซุหัยลียฺ 1/41 โดยสรุป)


การตะวัสสุลด้วยความศรัทธาและความรักที่มีต่อท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ตลอดจนการปฏิบัติตามสุนนะฮฺของท่าน รวมถึงความรักที่มีต่อบรรดาเอาลิยาอฺของอัลลออฺ (ซ.บ.) อันเป็นความรักเนื่องด้วยเหตุรักอัลลออฺ (ซ.บ.) –อัล-หุบบุ ฟิลลาฮฺ – เป็นสิ่งที่นักวิชาการมีมติเห็นพ้องว่าเป็นสิ่งที่ถูกบัญญัติ (มัชรูอฺ) และส่งเสริม (มุสตะหับ) เพราะเป็นความดี (อะมัล ศอลิหฺ) และเป็นการปฏิบัติที่ศาสนากำหนดว่าเป็นเรื่องจำเป็นเหนือมุสลิมทุกคน

ส่วนการตะวัสสุลด้วยกับตัวของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) รวมถึงบรรดาคนวะลียฺภายหลังการสิ้นชีวิตของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) และบรรดาคนวะลียฺนั้นนักวิชาการมีความเห็นต่างกัน

นักวิชาการฝ่ายหนึ่ง เช่น อิมามอัส-สุบกียฺ ตะกียุดดีน (ฮ.ศ. 683-756) ชัยคฺ อิบนุ หะญัรฺ อัล-ฮัยตะมียฺ (ฮ.ศ. 909-974) และชัยคฺ อะหฺมัด ซัยนียฺ ดะหฺลาน อัล-มักกียะฮฺ (ฮ.ศ. 1232-1304) เป็นต้น มีความเห็นว่า การตะวัสสุลด้วยกับตัวของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) เป็นสิ่งที่อนุญาตในทุกสภาพ ไม่ว่าจะเป็นช่วงเวลาก่อนการกำเนิดของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) หลักกำเนิดตลอดช่วงการมีชีวิตและภายหลังการเสียชีวิตของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ในช่วงเวลาของอาลัม บัรซัค รวมถึงภายหลังการฟื้นคืนชีพในวันกิยามะฮฺ (ชิฟาอุสสะกอม ฟี ซิยาเราะฮฺ คอยริล อะนาม ; ตะกียุดดีน อัส-สุบกียฺ หน้า 160 , วัล-เญาฮัรฺ อัล-มุนัซซอม ฟี ซิยาเราะฮฺ อัล-กอบริชชะรีฟ อัน-นะบะวียฺ อัล-มุกัรรอม : อัล-ฮัยตะมียฺ หน้า 76-77 , อัร-ดุรอรฺ อัส-สะนียะฮฺ ฟีรฺรอด อะลัล วะฮฺฮาบียะฮฺ ; อะหฺมัด ซัยนียฺ ดะหฺลาน หน้า 8-9)

นักวิชการอีกฝ่ายหนึ่ง เช่น อิมาม อิบนุตัยมียะฮฺ , อิบนุ อัล-ก็อยยิม และกลุ่มอัล-วะฮฺฮาบียะฮฺ เป็นต้น มีทัศนะว่าการตะวัสสุลด้วยตัวของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) บารมี (อัลญาฮฺ) และความจำเริญ (บะเราะกะฮฺ) ตลอดจนสิทธิ (หักก์) ของท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) และบรรดาคนวะลียฺเป็นสิ่งที่ไม่อนุญาต โดยเฉพาะเมื่อท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) และบรรดาคนวะลียฺได้เสียชีวิตไปแล้ว ต่างฝ่ายต่างก็อ้างหลักฐานและมีมุมมองในการวิเคราะห์เพื่อสนับสนุนทัศนะของฝ่ายตนและหักล้างการวิเคาะห์ของอีกฝ่าย

จริงๆ แล้วการตะวัสสุลที่กระทำได้และถูกบัญญัติ (มัชรูอฺ) ซึ่งทั้งสองฝ่ายเห็นตรงกันนั้นมีอยู่หลายชนิด เช่น การตะวัสสุลด้วยคุณลักษณะ (ศิฟาต) และพระนามอันไพจิตรของพระองค์อัลลอฮฺ (ซ.บ.) การตะวัสสุลด้วยอะมัลที่ศอลิหฺและการฏออะฮฺ การตะวัสสุลด้วยการขอดุอาอฺของคนศอลิหฺที่ยังมีชีวิตอยู่ให้แก่บุคคลที่ร้องขอ เป็นต้น การตะวัสสุลดังกล่าวไม่มีข้อขัดแย้งในระหว่างบรรดานักวิชาการจึงสมควรเน้นหนักและให้ความสำคัญมากกว่า


สำนักหรือทัศนะเกี่ยวกับอุศูลุดดีน (ปรัชญาศาสนา)

นอกจากนี้ยังมีสำนักเกี่ยวกับอุศูลุดดีน (ปรัชญาศาสนา) อีกหลายสำนัก ที่สำคัญได้แก่ 4 สำนักคือ

  1. สำนักมุอ์ตะซิละฮ์ (معتزلة) จัดตั้งขึ้นโดยวาศิล บินอะฏออ์ (ค.ศ. 699-749) ศิษย์ที่มีความคิดแตกต่างจากฮะซัน อัลบัศรี (ค.ศ. 642-728) ผู้เป็นอาจารย์
  2. สำนักอัชอะรี มาจากแนวคิดของอะบุลฮะซัน อัลอัชชะรี (ค.ศ. 873-935) แต่ผู้ที่พัฒนาแนวคิดนี้ คือ อัลฆอซาลี นักวิชาการศาสนาและปรมาจารย์ศูฟีย์
  3. สำนักมาตุรีดี เป็นทัศนะของอะบูมันศูร อัลมาตุรีดี (มรณะ ค.ศ. 944) ในตอนแรกเป็นสำนักปรัชญาของชนกลุ่มน้อย ต่อมาเมื่อเป็นที่ยอมรับของเผ่พันธุ์เติร์ก และพวกออตโตมานมีอำนาจ ก็ได้ทำให้สำนักนี้แพร่หลายในเอเชียกลาง
  4. สำนักอะษะรี เป็นทัศนะของอะฮ์มัด บินฮันบัล ผู้เป็นเจ้าสำนักฟิกฮ์ดังกล่าวมาแล้ว

หากมุอฟิกฮ์ตะซิละหฟิกฮ์แยกตัวออกจากสำนักของฮะซัน อัลบัศรี ย่อมแสดงว่าก่อนหน้านั้นต้องมีสำนักปรัชญามาก่อนแล้ว ฮะซัน อัลบัศรี เองก็มีแนวคิดของตนเช่นกัน นั่นก็เพราะ ฮะซัน อัลบัศรี เป็นปรมาจารย์ของสำนักศูฟีที่ภายหลังแตกขยายเป็นหลายสาย

ภายใต้การปกครองของราชวงศ์อุมัยยะฮ์ระหว่างปี ค.ศ. 661 ถึงปี ค.ศ. 750 ผู้คงแก่เรียนอิสลามเน้นการศึกษาที่เกี่ยวกับอัลกุรอาน แต่ราชวงศ์อับบาซียะฮ์ที่ตามมาสนับสนุนการศึกษาของกรีกและมนุษย์วิทยาตามแนวคิดของตระกูลปรัชญามุอ์ตะซีลี (Mu'tazili) ของอิสลาม ตระกูลความคิดนี้ก่อตั้งขึ้นในบาสราโดยวะศีล อิบุน อะฏอ (واصل بن عطاء‎ - Wasil ibn Ata) (ค.ศ. 700–ค.ศ. 748) ที่อยู่บนพื้นฐานที่ว่าอัลกุรอานมาจากอัลลอฮ์และอัลลอฮฺมีพระประสงค์อย่างเดียวคือสิ่งที่ดีที่สุดสำหรับมนุษย์ ปรัชญานี้ไม่เป็นที่ยอมรับกันโดยตระกูลปรัชญาอัชชาริยยะห์ (الأشاعرة - Ash'ariyyah) และ อาษาริยยะห์ (Athariyyah) ซึ่งเป็นตระกูลปรัชญาของซุนนีย์

ดังนั้น “ประตูแห่งอิญฏีหะ” (Gates of Ijtihad (اجتهاد) ) จึงเปิดขึ้นที่ทำให้เกิดการโต้แย้งกันภายในแวดวงระหว่างความคิดของปรัชญาตระกูลต่างๆ ของอิสลาม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น