ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาลพระภูมิ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 14: บรรทัด 14:
|caption = ประเภทของศาล[[พระภูมิ]]ใน[[ประเทศไทย]].
|caption = ประเภทของศาล[[พระภูมิ]]ใน[[ประเทศไทย]].
}}
}}
'''ศาล[[พระภูมิ]]''' หมายถึง [[สักการสถาน|ศาล]]ที่สร้างขึ้นเพื่อให้เป็นที่สถิตของ[[เทพารักษ์]]<ref>[[ราชบัณฑิตยสถาน]], ''[[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว'', กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 1141</ref> พบได้ทั่วไปใน[[ประเทศไทย]] มีลักษณะเป็นบ้านหรือวิหารหลังเล็กตั้งอยู่บนเสาเดี่ยว หรือปะรำทำจากปูนหรือไม้เป็นต้น ตั้งไว้ในจุดที่เชื่อว่าเป็นมงคล ซึ่งมักจะอยู่ริมรั้วหรือมุมหนึ่งนอกบ้าน และบ้านหนึ่งก็อาจมีศาลพระภูมิมากกว่าหนึ่งหลัง การบวงสรวงศาลพระภูมิเป็นการถวาย[[พวงมาลัย]] [[ดอกไม้]] และ[[อาหาร]] ให้กับวิญญาณที่สถิตอยู่ในศาล ซึ่งมักจะทำก่อนพิธีกรรมของบ้านนั้นหรือเนื่องในวันสำคัญ. การตั้งศาลพระภูมิไม่ความเชื่อแน่นอนต้องทุบทิ้ง
'''ศาล[[พระภูมิ]]''' หมายถึง [[สักการสถาน|ศาล]]ที่สร้างขึ้นเพื่อให้เป็นที่สถิตของ[[เทพารักษ์]]<ref>[[ราชบัณฑิตยสถาน]], ''[[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว'', กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 1141</ref> พบได้ทั่วไปใน[[ประเทศไทย]] มีลักษณะเป็นบ้านหรือวิหารหลังเล็กตั้งอยู่บนเสาเดี่ยว หรือปะรำทำจากปูนหรือไม้เป็นต้น ตั้งไว้ในจุดที่เชื่อว่าเป็นมงคล ซึ่งมักจะอยู่ริมรั้วหรือมุมหนึ่งนอกบ้าน และบ้านหนึ่งก็อาจมีศาลพระภูมิมากกว่าหนึ่งหลัง การบวงสรวงศาลพระภูมิเป็นการถวาย[[พวงมาลัย]] [[ดอกไม้]] และ[[อาหาร]] ให้กับวิญญาณที่สถิตอยู่ในศาล ซึ่งมักจะทำก่อนพิธีกรรมของบ้านนั้นหรือเนื่องในวันสำคัญ. การตั้งศาลพระภูมิไม่มีความเชื่อแน่นอนต้องทุบทิ้ง
[[ไฟล์:Taksin Memorial Spirit House.jpg|right|thumb|ศาลพระภูมิอุทิศแก่[[พระภูมิ|พระภูมิวัยทัต]] ]]
[[ไฟล์:Taksin Memorial Spirit House.jpg|right|thumb|ศาลพระภูมิอุทิศแก่[[พระภูมิ|พระภูมิวัยทัต]] ]]
== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:08, 18 ตุลาคม 2562

ศาลพระภูมิ
ศาลพระภูมิเสาเดียวอุทิศให้พระภูมิ.
ศาลพระภูมิสี่หรือหกเสาเดียวอุทิศให้ เจ้าที่ หรือดวงวิญญาณในที่นั้นๆ.
ศาลพระภูมิสี่หรือหกเสาเดียวอุทิศให้ เจ้าที่ หรือดวงวิญญาณในที่นั้นๆ.
ศาลพระภูมิสี่หรือหกเสาเดียวอุทิศให้เทพารักษ์ หรือ รุกขเทวดา.
ศาลพระภูมิเก่าที่ชำรุดนิยมฝากไว้กับต้นโพและไทร ต้นไม้ศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อของไทย.
ศาลพระภูมิเก่าที่ชำรุดนิยมฝากไว้กับต้นโพและไทร ต้นไม้ศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อของไทย.
ศาลพระภูมิ พระพุทธรูปและเทวรูป รูปเคารพเก่าที่ชำรุดนิยมฝากไว้กับต้นโพและไทร ต้นไม้ศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อของไทย.
ศาลพระภูมิเก่าที่ชำรุดนิยมฝากไว้กับต้นโพและไทร ต้นไม้ศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อของไทย.
ประเภทของศาลพระภูมิในประเทศไทย.

ศาลพระภูมิ หมายถึง ศาลที่สร้างขึ้นเพื่อให้เป็นที่สถิตของเทพารักษ์[1] พบได้ทั่วไปในประเทศไทย มีลักษณะเป็นบ้านหรือวิหารหลังเล็กตั้งอยู่บนเสาเดี่ยว หรือปะรำทำจากปูนหรือไม้เป็นต้น ตั้งไว้ในจุดที่เชื่อว่าเป็นมงคล ซึ่งมักจะอยู่ริมรั้วหรือมุมหนึ่งนอกบ้าน และบ้านหนึ่งก็อาจมีศาลพระภูมิมากกว่าหนึ่งหลัง การบวงสรวงศาลพระภูมิเป็นการถวายพวงมาลัย ดอกไม้ และอาหาร ให้กับวิญญาณที่สถิตอยู่ในศาล ซึ่งมักจะทำก่อนพิธีกรรมของบ้านนั้นหรือเนื่องในวันสำคัญ. การตั้งศาลพระภูมิไม่มีความเชื่อแน่นอนต้องทุบทิ้ง

ศาลพระภูมิอุทิศแก่พระภูมิวัยทัต

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 1141

แหล่งข้อมูลอื่น