ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ออนอเร มีราโบ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
| death_place = ปารีส ฝรั่งเศส
| death_place = ปารีส ฝรั่งเศส
| party = [[Society of 1789|พรรคนาซียง]] {{small|(1789–1791)}}
| party = [[Society of 1789|พรรคนาซียง]] {{small|(1789–1791)}}
| spouse = {{marriage|Émilie de Covet, Marchioness of Marignane|1772|1782|end=div.}}
| spouse = {{marriage|เอมีลี เดอ กอแว มาร์เชอนิสแห่งมารีญาน|1772|1782|end=div.}}
| profession = ทหาร, นักเขียน, บรรณาธิการ
| profession = ทหาร, นักเขียน, บรรณาธิการ
| religion = [[เทวัสนิยม]]
| religion = [[เทวัสนิยม]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:14, 18 ตุลาคม 2562

เคานต์แห่งมีราโบ
Comte de Mirabeau
สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญแห่งชาติ
ดำรงตำแหน่ง
9 กรกฎาคม 1789 – 2 เมษายน 1791
เขตเลือกตั้งแอ็กซ็องพรอว็องส์
สมาชิกสภาสภาฐานันดร
ผู้แทนฐานันดรที่สาม
ดำรงตำแหน่ง
5 พฤษภาคม 1789 – 9 กรกฎาคม 1789
เขตเลือกตั้งพรอว็องส์
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด9 มีนาคม ค.ศ. 1749(1749-03-09)
เลอบีญง ออร์เลอ็อง ฝรั่งเศส
เสียชีวิต2 เมษายน ค.ศ. 1791(1791-04-02) (42 ปี)
ปารีส ฝรั่งเศส
ศาสนาเทวัสนิยม
พรรคการเมืองพรรคนาซียง (1789–1791)
คู่สมรสเอมีลี เดอ กอแว มาร์เชอนิสแห่งมารีญาน (สมรส 1772; หย่า 1782)
วิชาชีพทหาร, นักเขียน, บรรณาธิการ
ลายมือชื่อ

ออนอเร กาบรีแยล รีเกติ เคานต์แห่งมีราโบ (ฝรั่งเศส: Honoré Gabriel Riqueti, comte de Mirabeau) เป็นผู้นำการปฏิวัติฝรั่งเศสในช่วงต้น เขาเคยเป็นขุนนางที่ตกเป็นข่าวฉาวมากมายจนชื่อเสียงของเขาพังยับในช่วงก่อนการปฏิวัติจะเริ่มขึ้นใน ค.ศ. 1789 อย่างไรก็ตาม มีราโบสามารถก้าวขึ้นมาอยู่แถวหน้าในสนามการเมืองฝรั่งเศสในช่วง ค.ศ. 1789–1791 และได้รับคะแนนเสียงความไว้วางใจจากประชาชน และด้วยการที่เขามีวาทศิลป์ในการพูด เขากลายเป็นผู้นำของกลุ่มการเมืองสายกลางท่ามกลางกระแสการปฏิวัติ มีราโบเสนอให้ใช้ระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญตามตัวแบบบริเตนใหญ่

อย่างไรก็ตาม แม้ว่าแนวทางสายกลางของเขาจะไม่ประสบความสำเร็จ แต่มีราโบถูกมองเป็นดั่งวีรบุรุษของชาติยามที่เขาถึงแก่อสัญกรรมตามธรรมชาติ ถึงกระนั้น เมื่อมีการค้นพบภายหลังว่ามีราโบรับเงินจากพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ตลอดจนรับเงินจากออสเตรียซึ่งเป็นศัตรูของฝรั่งเศสในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1790 การค้นพบนี้ทำให้ชื่อเสียงในหลุมศพเขาป่นปี้ นักประวัติศาสตร์มักจะถกเถียงกันว่าสรุปแล้วมีราโบเป็นวีรบุรุษหรือผู้ยิ่งใหญ่ที่กอบกู้ฝรั่งเศสจากสมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว หรือเป็นเพียงนักการเมืองเลวทรามเจ้าวาทกรรมคนนึงที่แก่นแท้แล้วไม่มีอะไรดี หรือเป็นเพียงผู้ทรยศที่แอบรับเงินจากชาติศัตรูกันแน่[1]

อ้างอิง

  1. Epstein (1970) pp 576–77