ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถนนเสรีไทย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Love Art Sweet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''ถนนเสรีไทย''' ({{lang-roman|Thanon Seri Thai}}) เริ่มตั้งแต่[[เขตบางกะปิ]] ผ่าน[[เขตบึงกุ่ม]], [[เขตคันนายาว]] ไปสิ้นสุดที่[[เขตมีนบุรี]] ใน[[กรุงเทพมหานคร]] เดิมอยู่ในความดูแลของแขวงการทางกรุงเทพ [[กรมทางหลวง]] และได้รับการกำหนดเป็น '''ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3278''' ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของสำนักการจราจรและขนส่ง [[กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)|กรุงเทพมหานคร]]
'''ถนนเสรีไทย''' ({{lang-roman|Thanon Seri Thai}}) เริ่มตั้งแต่[[เขตบางกะปิ]] ผ่าน[[เขตบึงกุ่ม]] [[เขตคันนายาว]] ไปสิ้นสุดที่[[เขตมีนบุรี]] ใน[[กรุงเทพมหานคร]] เดิมอยู่ในความดูแลของแขวงการทางกรุงเทพ กรมทางหลวง และได้รับการกำหนดเป็น '''ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3278''' ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของ[[กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)|กรุงเทพมหานคร]]


ถนนสายนี้มีความยาวประมาณ 9 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นที่[[แยกบางกะปิ]] ปลาย[[ถนนลาดพร้าว]]ใน[[เขตบางกะปิ]] ซึ่งเป็นจุดตัดกับ[[ถนนนวมินทร์]] และ[[ถนนพ่วงศิริ]] โดยมีทิศทางมุ่งไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับ[[ถนนศรีบูรพา]]ที่แยก[[นิด้า]] ผ่าน[[เขตบึงกุ่ม]] ตัดกับ[[ถนนกาญจนาภิเษก]] (วงแหวนด้านตะวันออก), [[ถนนสวนสยาม]] และตัดกับ[[ถนนมีนพัฒนา]]ที่แยกบางชัน ไปสิ้นสุดที่[[แยกเมืองมีน]] ซึ่งเป็นจุดตัดกับ[[ถนนรามอินทรา]], [[ถนนสุวินทวงศ์]] และ[[ถนนสีหบุรานุกิจ]]ใน[[เขตมีนบุรี]]
ถนนสายนี้มีความยาวประมาณ 9 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นที่แยกบางกะปิ ปลาย[[ถนนลาดพร้าว]]ใน[[เขตบางกะปิ]] ซึ่งเป็นจุดตัดกับ[[ถนนนวมินทร์]]และ[[ถนนพ่วงศิริ]] โดยมีทิศทางมุ่งไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับ[[ถนนศรีบูรพา]]ที่แยกนิด้า ผ่าน[[เขตบึงกุ่ม]] ตัดกับ[[ถนนกาญจนาภิเษก]] (ด้านตะวันออก) [[ถนนสวนสยาม]] และตัดกับ[[ถนนมีนพัฒนา]]ที่แยกบางชัน ไปสิ้นสุดที่[[แยกเมืองมีน]] ซึ่งเป็นจุดตัดกับ[[ถนนรามอินทรา]] [[ถนนสุวินทวงศ์]] และ[[ถนนสีหบุรานุกิจ]]ในเขตมีนบุรี


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
ถนนเสรีไทยเดิมชื่อว่า '''ถนนสุขาภิบาล 2''' และ '''ถนนบึงกุ่ม''' ต่อมาทางกรุงเทพมหานครได้เปลี่ยนชื่อใหม่ เพื่อเป็นการสดุดีเกียรติคุณของ[[ขบวนการเสรีไทย]] ในวาระครบรอบ 50 ปี [[วันสันติภาพไทย]] และการสิ้นสุด[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ในปี [[พ.ศ. 2538]]
ถนนเสรีไทยเดิมชื่อว่า '''ถนนสุขาภิบาล 2''' และ '''ถนนบึงกุ่ม''' ต่อมากรุงเทพมหานครได้เปลี่ยนชื่อใหม่ เพื่อเป็นการสดุดีเกียรติคุณของ[[ขบวนการเสรีไทย]] ในวาระครบรอบ 50 ปี [[วันสันติภาพไทย]] และการสิ้นสุด[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ในปี [[พ.ศ. 2538]]


== สถานที่สำคัญ ==
== สถานที่สำคัญ ==
สถานที่สำคัญบนถนนสายนี้ ได้แก่ [[การเคหะแห่งชาติ]], [[เคหะชุมชนคลองจั่น]], [[โรงเรียนบางกะปิ]], [[สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]] ([[นิด้า]]), [[สวนเสรีไทย]] (สวนน้ำบึงกุ่มเดิม) ซึ่งภายในมี[[พิพิธภัณฑ์เสรีไทย]] ณ อาคารเสรีไทยอนุสรณ์, [[สวนสยาม]], [[ตลาดน้ำขวัญเรียม]], [[วัดบำเพ็ญเหนือ]], [[นิคมอุตสาหกรรมบางชัน]], [[เคหะชุมชนบางชัน]] และ[[โรงพยาบาลเสรีรักษ์]]
สถานที่สำคัญบนถนนสายนี้ ได้แก่ [[การเคหะแห่งชาติ]] [[เคหะชุมชนคลองจั่น]] [[โรงเรียนบางกะปิ]] [[สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]] (นิด้า) [[สวนเสรีไทย]] (สวนน้ำบึงกุ่มเดิม) ซึ่งภายในมี[[พิพิธภัณฑ์เสรีไทย]] ณ อาคารเสรีไทยอนุสรณ์ [[สวนสยาม]] [[ตลาดน้ำขวัญเรียม]] [[วัดบำเพ็ญเหนือ]] [[นิคมอุตสาหกรรมบางชัน]] [[เคหะชุมชนบางชัน]] และ[[โรงพยาบาลเสรีรักษ์]]


== รายชื่อทางแยก ==
== รายชื่อทางแยก ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:49, 14 ตุลาคม 2562

ถนนเสรีไทย (อักษรโรมัน: Thanon Seri Thai) เริ่มตั้งแต่เขตบางกะปิ ผ่านเขตบึงกุ่ม เขตคันนายาว ไปสิ้นสุดที่เขตมีนบุรี ในกรุงเทพมหานคร เดิมอยู่ในความดูแลของแขวงการทางกรุงเทพ กรมทางหลวง และได้รับการกำหนดเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3278 ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของกรุงเทพมหานคร

ถนนสายนี้มีความยาวประมาณ 9 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นที่แยกบางกะปิ ปลายถนนลาดพร้าวในเขตบางกะปิ ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนนวมินทร์และถนนพ่วงศิริ โดยมีทิศทางมุ่งไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนศรีบูรพาที่แยกนิด้า ผ่านเขตบึงกุ่ม ตัดกับถนนกาญจนาภิเษก (ด้านตะวันออก) ถนนสวนสยาม และตัดกับถนนมีนพัฒนาที่แยกบางชัน ไปสิ้นสุดที่แยกเมืองมีน ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนรามอินทรา ถนนสุวินทวงศ์ และถนนสีหบุรานุกิจในเขตมีนบุรี

ประวัติ

ถนนเสรีไทยเดิมชื่อว่า ถนนสุขาภิบาล 2 และ ถนนบึงกุ่ม ต่อมากรุงเทพมหานครได้เปลี่ยนชื่อใหม่ เพื่อเป็นการสดุดีเกียรติคุณของขบวนการเสรีไทย ในวาระครบรอบ 50 ปี วันสันติภาพไทย และการสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2538

สถานที่สำคัญ

สถานที่สำคัญบนถนนสายนี้ ได้แก่ การเคหะแห่งชาติ เคหะชุมชนคลองจั่น โรงเรียนบางกะปิ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) สวนเสรีไทย (สวนน้ำบึงกุ่มเดิม) ซึ่งภายในมีพิพิธภัณฑ์เสรีไทย ณ อาคารเสรีไทยอนุสรณ์ สวนสยาม ตลาดน้ำขวัญเรียม วัดบำเพ็ญเหนือ นิคมอุตสาหกรรมบางชัน เคหะชุมชนบางชัน และโรงพยาบาลเสรีรักษ์

รายชื่อทางแยก

รายชื่อทางแยกบน ถนนเสรีไทย ทิศทาง: แยกบางกะปิ–แยกเมืองมีน
จังหวัด อำเภอ/เขต กม.ที่ ชื่อจุดตัด ซ้าย ขวา
กรุงเทพมหานคร บางกะปิ 0+000 แยกบางกะปิ เชื่อมต่อจาก: ถนนลาดพร้าว
ถนนนวมินทร์ ไป ถนนรามอินทรา (แยกรามอินทรา กม.8) ถนนพ่วงศิริ ไปถนนรามคำแหง (แยกสวนสน)
1+000 แยกนิด้า ถนนศรีบูรพา ไปถนนนวมินทร์ (แยกที่ดินบางกะปิ) ถนนศรีบูรพา ไปถนนรามคำแหง (แยกบ้านม้า)
บึงกุ่ม 2+000 แยกเสรีไทย 23 ซอยเสรีไทย 23 ไม่มี
3+100 แยกสำนักงานเขตบึงกุ่ม ซอยเสรีไทย 43 ไม่มี
3+700 แยกหมู่บ้านสหกรณ์ ซอยเสรีไทย 57 ไม่มี
4+100 แยกนวธานี ซอยเสรีไทย 59 ซอยเสรีไทย 38
คันนายาว 4+600 แยกต่างระดับเสรีไทยตะวันตก ทางเชื่อมเข้า บริเวณทางแยกต่างระดับคลองกุ่ม สู่
ถนนกาญจนาภิเษก (ตะวันออก) ไปบางปะอิน /
ทล.3902 ไป ถนนรามอินทรา
ทางเชื่อมออก บริเวณทางแยกต่างระดับคลองกุ่ม จาก
ถนนกาญจนาภิเษก (ตะวันออก)
(เดินรถทิศทางเดียว)
4+800 ทางแยกต่างระดับคลองกุ่ม
(ทางลอดใต้ทางหลวงพิเศษระดับดิน)
ถนนกาญจนาภิเษก (ตะวันออก) ไปบางปะอิน ถนนกาญจนาภิเษก (ตะวันออก) ไปบางนา
4+900 แยกต่างระดับเสรีไทยตะวันออก ไม่มี ทางเชื่อมเข้า บริเวณทางแยกต่างระดับคลองกุ่ม สู่
ถนนกาญจนาภิเษก (ตะวันออก) ไปบางนา /
ทล.3901 ไปถนนรามคำแหง
5+800 แยกสวนสยาม ถนนสวนสยาม ไป ถนนรามอินทรา (แยกโรงพยาบาลนพรัตนราชธานี) ไม่มี
6+800 แยกเสรีไทย 56 ซอยเสรีไทย 85 ซอยเสรีไทย 56
มีนบุรี 7+400 แยกนิคมอุตสากรรมบางชัน ซอยเสรีไทย 87 (ซอยนิคมฯ บางชัน 3) ไม่มี
8+300 แยกบางชัน ไม่มี ถนนมีนพัฒนา ไปถนนรามคำแหง (แยกลาดบัวขาว)
9+300 แยกเมืองมีน ถนนรามอินทรา ไปหลักสี่ ถนนสีหบุรานุกิจ ไปมีนบุรี
ตรงไป: ถนนสุวินทวงศ์ ไปหนองจอก ฉะเชิงเทรา
      สะพาน              กำลังก่อสร้างหรือโครงการในอนาคต