ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทิวเขาพนมดงรัก"

พิกัด: 14°20′15″N 103°55′00″E / 14.3375°N 103.916667°E / 14.3375; 103.916667
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 22: บรรทัด 22:
}}
}}
'''ทิวเขาพนมดงรัก''' ([[ภาษาเขมร|เขมร]]: ជួរភ្នំដងរែក, ''Chuor Phnom Dângrêk''; {{lang-th|ทิวเขาพนมดงรัก}}, {{RTGS|''Thio Khao Phanom Dongrak''}}, [[ภาษาลาว|ลาว]]: ''Sayphou Damlek'') มาจากภาษาเขมรว่า "พนมดองแร็ก" มีความหมายว่า "ภูเขาไม้คาน" เป็นภูเขาที่ทอดตัวในแนวตะวันออก-ตะวันออก เป็นพรมแดนกั้นระหว่าง [[ประเทศไทย]] และ[[ประเทศกัมพูชา]]
'''ทิวเขาพนมดงรัก''' ([[ภาษาเขมร|เขมร]]: ជួរភ្នំដងរែក, ''Chuor Phnom Dângrêk''; {{lang-th|ทิวเขาพนมดงรัก}}, {{RTGS|''Thio Khao Phanom Dongrak''}}, [[ภาษาลาว|ลาว]]: ''Sayphou Damlek'') มาจากภาษาเขมรว่า "พนมดองแร็ก" มีความหมายว่า "ภูเขาไม้คาน" เป็นภูเขาที่ทอดตัวในแนวตะวันออก-ตะวันออก เป็นพรมแดนกั้นระหว่าง [[ประเทศไทย]] และ[[ประเทศกัมพูชา]]

<br />

== เขาพนมดงรักในอดีต ==
เขาพนมดงรักในอดีต เมือหลายพันปีก่อนเป็นที่อยู่ของ ชาวกูย ที่อพยบมาจาก[[แคว้นอัสสัม]]ถูกรุกรานโดย[[ชาวอารยัน|ชนเผ่าอนารยะ]](อารยัน)จนบางส่วนต้องละทิ้งถิ่นฐานอพยพข้ามลงมาตามลำน้ำโขงถึงตอนใต้ บางส่วนไปอาศัยตาม[[ทิวเขาพนมดงรัก|เขาพนมดงรัก]]

มีหลักฐาน [[ศิลาจารึกศิวศักติ]] หรือ [[ศิลาจารึก K. ๓๘๒]] สลักขึ้นด้วยภาษาสันสกฤต [[อักษรเทวนาครี]] เป็นศิลาจารึกที่บอกเล่าเรื่องราวให้ทราบว่าถิ่นที่อยู่อาศัยของ “'''ชาวกวย'''” หรือ “'''ชาวกุย'''” ซึ่งเป็นชนพื้นเมืองที่ตั้งหลักแหล่งอาศัยอยู่บนเทือกเขาพนมดงรัก ในดินแดนอิสานประเทศมาตั้งแต่สมัยดึกดำบรรพ์จนกระทั่งเข้าสู่ยุคเริ่มต้นประวัติศาสตร์สมัย “[[อาณาจักรฟูนัน]]” หรือ “อาณาจักรสุวรรณภูมิ”
<br />

== ศิลาจารึกที่ปราสาทเขาพระวิหาร ==
ศิลาจารึกที่[[ปราสาทเขาพระวิหาร]] เรียกว่า “'''ศิลาจารึกศิวศักติ'''” หรือ “'''ศิลาจารึก K. ๓๘๒'''” สลักขึ้นด้วยภาษาสันสกฤต [[อักษรเทวนาครี]] เป็นศิลาจารึกที่บอกเล่าเรื่องราวให้ทราบว่าถิ่นที่อยู่อาศัยของ “'''ชาวกวย'''” หรือ “'''ชาวกุย'''” ซึ่งเป็นชนพื้นเมืองที่ตั้งหลักแหล่งอาศัยอยู่บนเทือกเขาพนมดงรัก ในดินแดนอิสานประเทศมาตั้งแต่สมัยดึกดำบรรพ์จนกระทั่งเข้าสู่ยุคเริ่มต้นประวัติศาสตร์สมัย “[[อาณาจักรฟูนัน]]” หรือ “อาณาจักรสุวรรณภูมิ” เรืองอำนาจขึ้นในคาบสมุทรอินโดจีน กษัตริย์ฟูนันได้สร้างปราสาทเทพบิดรไว้บนภูเขาพนมดงรัก มอบหมายให้ชาวพื้นเมืองรักษาภายหลังจาก “[[อาณาจักรฟูนัน]]” ถูกกองทัพ[[เจนละ]]โจมตีล่มสลายไป “อาณาเจนละ” เรืองอำนาจขึ้นมาแทนที่ต่อมา “[[เจนละ]]” ถูกกองทัพเรือ[[ศรีวิชัย]]โจมตีล่มสลายถูกแบ่งแยกออกเป็น “อาณาจักรเจนละบก” และ “อาณาจักรเจนละน้ำ” ในสมัย “สมเด็จพระปรเมศวร” หรือ “[[พระเจ้าชัยวรมันที่ 2]]” เสด็จกลับจาก[[ชวา]] พระองค์ทรงสร้าง “เมืองมเหนทรบรรพต” ขึ้นเหนือภูเขาพนมกุเลน ทรงสถาปนาศิวลึงค์อันศักดิ์สิทธิ์ขึ้นในวิหารเหนือยอดภูเขาประกาศความเป็น “กมรเตง ชคตะ ราชยะ” เสร็จสิ้นสมบูรณ์แล้ว พระองค์ทรงแผ่พระราชอำนาจขึ้นสู่แผ่นดินสูงบนเทือกเขาพนมดงรัก รบพุ่งได้รับชัยชนะชาวพื้นเมืองแล้วทรงเกลี้ยกล่อมให้ยอมสวามิภักดิ์เพื่อรวม “เจนละบก”และ “เจนละน้ำ” เป็นอาณาจักรเดียวกัน

“[[พระเจ้าชัยวรมันที่ 2]]” ทรงอภิเษกสมรสกับสตรี[[ชาวกูย]]เมืองศรีสะเกษผู้เลอโฉมธิดาของ “นางพิณสวรรค์ครามวตี” มีชื่อว่า “ฮยางปราวิตรี” หรือ “'''ปราณ'''” ทรงสถาปนาขึ้นเป็นอัครมเหสีเฉลิมพระนามว่า “พระนางกัมพูชาลักษมี” และทรงแต่งตั้ง “วิษณุวาล” พี่ชายของ “ปราณ” ให้ดำรงตำแหน่ง “ลักษมินทรา” ทำหน้าที่ดูแลพระคลังส่วนพระองค์และรับใช้ใกล้ชิด แต่งตั้งชาวพื้นเมืองผู้สูงศักดิ์และมีชื่อเสียงเลื่องลือให้ดำรงตำแหน่งต่าง ๆ ลดหลั่นกันถ้วนหน้า นับตั้งแต่นั้นมาชาวพื้นเมืองทุกเผ่าพันธุ์บนที่ราบสูงในอิสานประเทศบเกิดความศรัทธาเลื่อมใสยกย่องว่าทรงเป็น “จักรวาทิน” ทรงรวบรวม “เจนละบก” เจนละน้ำ “เขมรต่ำ” “เขมรสูง” “ข่า” “ชอง” “สำแร” และชาวพื้นเมืองทั้งหลายเข้ารวมอยู่ใน “'''อาณาจักรขอมโบราณ'''” นักโบราณคดีเรียกว่ายุคเริ่มต้น “[[สมัยพระนคร]]” (Angkor) หรือ “ราชวงศ์โคกธลอก” (Srog Kmer)
<br />
==ดูเพิ่ม==
==ดูเพิ่ม==
* [[อุทยานแห่งชาติตาพระยา]]
* [[อุทยานแห่งชาติตาพระยา]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:09, 19 กันยายน 2562

ทิวเขาพนมดงรัก
ทิวเขาพนมดงรัก เมื่อมองจากทางทิศตะวันออกของผามออีแดง
จุดสูงสุด
ยอดภูขี้สุข
ความสูง
เหนือระดับน้ำทะเล
753 เมตร (2,470 ฟุต)
พิกัด14°20.25′N 103°55′E / 14.33750°N 103.917°E / 14.33750; 103.917
ข้อมูลเชิงขนาด
ยาว300 ก.ม. E/W
กว้าง40 ก.ม. N/S
ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
ประเทศไทย, กัมพูชา และ ลาว
ติดต่อกับชายแดนไทย-กัมพูชา
ข้อมูลทางธรณีวิทยา
อายุหินยุคจูแรสซิก
ประเภทหินหินทราย, หินทรายแป้ง

ทิวเขาพนมดงรัก (เขมร: ជួរភ្នំដងរែក, Chuor Phnom Dângrêk; ไทย: ทิวเขาพนมดงรัก, อักษรโรมันThio Khao Phanom Dongrak, ลาว: Sayphou Damlek) มาจากภาษาเขมรว่า "พนมดองแร็ก" มีความหมายว่า "ภูเขาไม้คาน" เป็นภูเขาที่ทอดตัวในแนวตะวันออก-ตะวันออก เป็นพรมแดนกั้นระหว่าง ประเทศไทย และประเทศกัมพูชา


เขาพนมดงรักในอดีต

เขาพนมดงรักในอดีต เมือหลายพันปีก่อนเป็นที่อยู่ของ ชาวกูย ที่อพยบมาจากแคว้นอัสสัมถูกรุกรานโดยชนเผ่าอนารยะ(อารยัน)จนบางส่วนต้องละทิ้งถิ่นฐานอพยพข้ามลงมาตามลำน้ำโขงถึงตอนใต้ บางส่วนไปอาศัยตามเขาพนมดงรัก

มีหลักฐาน ศิลาจารึกศิวศักติ หรือ ศิลาจารึก K. ๓๘๒ สลักขึ้นด้วยภาษาสันสกฤต อักษรเทวนาครี เป็นศิลาจารึกที่บอกเล่าเรื่องราวให้ทราบว่าถิ่นที่อยู่อาศัยของ “ชาวกวย” หรือ “ชาวกุย” ซึ่งเป็นชนพื้นเมืองที่ตั้งหลักแหล่งอาศัยอยู่บนเทือกเขาพนมดงรัก ในดินแดนอิสานประเทศมาตั้งแต่สมัยดึกดำบรรพ์จนกระทั่งเข้าสู่ยุคเริ่มต้นประวัติศาสตร์สมัย “อาณาจักรฟูนัน” หรือ “อาณาจักรสุวรรณภูมิ”

ศิลาจารึกที่ปราสาทเขาพระวิหาร

ศิลาจารึกที่ปราสาทเขาพระวิหาร เรียกว่า “ศิลาจารึกศิวศักติ” หรือ “ศิลาจารึก K. ๓๘๒” สลักขึ้นด้วยภาษาสันสกฤต อักษรเทวนาครี เป็นศิลาจารึกที่บอกเล่าเรื่องราวให้ทราบว่าถิ่นที่อยู่อาศัยของ “ชาวกวย” หรือ “ชาวกุย” ซึ่งเป็นชนพื้นเมืองที่ตั้งหลักแหล่งอาศัยอยู่บนเทือกเขาพนมดงรัก ในดินแดนอิสานประเทศมาตั้งแต่สมัยดึกดำบรรพ์จนกระทั่งเข้าสู่ยุคเริ่มต้นประวัติศาสตร์สมัย “อาณาจักรฟูนัน” หรือ “อาณาจักรสุวรรณภูมิ” เรืองอำนาจขึ้นในคาบสมุทรอินโดจีน กษัตริย์ฟูนันได้สร้างปราสาทเทพบิดรไว้บนภูเขาพนมดงรัก มอบหมายให้ชาวพื้นเมืองรักษาภายหลังจาก “อาณาจักรฟูนัน” ถูกกองทัพเจนละโจมตีล่มสลายไป “อาณาเจนละ” เรืองอำนาจขึ้นมาแทนที่ต่อมา “เจนละ” ถูกกองทัพเรือศรีวิชัยโจมตีล่มสลายถูกแบ่งแยกออกเป็น “อาณาจักรเจนละบก” และ “อาณาจักรเจนละน้ำ” ในสมัย “สมเด็จพระปรเมศวร” หรือ “พระเจ้าชัยวรมันที่ 2” เสด็จกลับจากชวา พระองค์ทรงสร้าง “เมืองมเหนทรบรรพต” ขึ้นเหนือภูเขาพนมกุเลน ทรงสถาปนาศิวลึงค์อันศักดิ์สิทธิ์ขึ้นในวิหารเหนือยอดภูเขาประกาศความเป็น “กมรเตง ชคตะ ราชยะ” เสร็จสิ้นสมบูรณ์แล้ว พระองค์ทรงแผ่พระราชอำนาจขึ้นสู่แผ่นดินสูงบนเทือกเขาพนมดงรัก รบพุ่งได้รับชัยชนะชาวพื้นเมืองแล้วทรงเกลี้ยกล่อมให้ยอมสวามิภักดิ์เพื่อรวม “เจนละบก”และ “เจนละน้ำ” เป็นอาณาจักรเดียวกัน

พระเจ้าชัยวรมันที่ 2” ทรงอภิเษกสมรสกับสตรีชาวกูยเมืองศรีสะเกษผู้เลอโฉมธิดาของ “นางพิณสวรรค์ครามวตี” มีชื่อว่า “ฮยางปราวิตรี” หรือ “ปราณ” ทรงสถาปนาขึ้นเป็นอัครมเหสีเฉลิมพระนามว่า “พระนางกัมพูชาลักษมี” และทรงแต่งตั้ง “วิษณุวาล” พี่ชายของ “ปราณ” ให้ดำรงตำแหน่ง “ลักษมินทรา” ทำหน้าที่ดูแลพระคลังส่วนพระองค์และรับใช้ใกล้ชิด แต่งตั้งชาวพื้นเมืองผู้สูงศักดิ์และมีชื่อเสียงเลื่องลือให้ดำรงตำแหน่งต่าง ๆ ลดหลั่นกันถ้วนหน้า นับตั้งแต่นั้นมาชาวพื้นเมืองทุกเผ่าพันธุ์บนที่ราบสูงในอิสานประเทศบเกิดความศรัทธาเลื่อมใสยกย่องว่าทรงเป็น “จักรวาทิน” ทรงรวบรวม “เจนละบก” เจนละน้ำ “เขมรต่ำ” “เขมรสูง” “ข่า” “ชอง” “สำแร” และชาวพื้นเมืองทั้งหลายเข้ารวมอยู่ใน “อาณาจักรขอมโบราณ” นักโบราณคดีเรียกว่ายุคเริ่มต้น “สมัยพระนคร” (Angkor) หรือ “ราชวงศ์โคกธลอก” (Srog Kmer)

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

14°20′15″N 103°55′00″E / 14.3375°N 103.916667°E / 14.3375; 103.916667