ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มวล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขของ 2001:44C8:4508:3C62:214D:716B:A349:6F6C (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย PointlessUsername
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[{ต้องการอ้างอิง}] อาแว
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ความหมายอื่น||มวล.|มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์}}
{{ความหมายอื่น||มวล.|มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์}}
{{กลศาสตร์ดั้งเดิม}}
{{กลศาสตร์ดั้งเดิม}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:13, 18 กันยายน 2562

มวล เป็นคุณสมบัติหนึ่งของวัตถุ ที่บ่งบอกปริมาณของสสารที่วัตถุนั้นมี มวลเป็นแนวคิดหลักอันเป็นหัวใจของกลศาสตร์แบบดั้งเดิม รวมไปถึงแขนงวิชาที่เกี่ยวข้อง

หากแจกแจงกันโดยละเอียดแล้ว จะมีปริมาณอยู่ 3 ประเภทที่ถูกนิยามว่า มวล ได้แก่

  • มวลเฉื่อย (อังกฤษ: inertial mass) คือการวัดปริมาณความเฉื่อยของมวล ซึ่งหมายถึงปริมาณความต้านทานในการเปลี่ยนสถานะของการเคลื่อนไหว เมื่อมีแรงมากระทำ วัตถุที่มีมวลเฉื่อยน้อย จะสามารถเปลี่ยนแปลงสถานะการเคลื่อนไหวได้รวดเร็ว ในทางกลับกัน วัตถุที่มีมวลเฉื่อยมาก จะเปลี่ยนแปลงสถานะการเคลื่อนไหวได้ยากกว่า ตัวอย่างเช่น หากพยายามทำให้วัตถุ 2 ก้อนเคลื่อนที่โดยใช้แรงเท่ากัน วัตถุที่มีมวลเฉื่อยมาก จะเคลื่อนไหวได้น้อยกว่าวัตถุที่มีมวลเฉื่อยน้อย ภายในเวลาที่เท่ากัน
  • มวลโน้มถ่วงกระทำ (อังกฤษ: active gravitational mass) คือการวัดปริมาณแรงโน้มถ่วงหรือสนามโน้มถ่วงที่วัตถุกระทำต่อวัตถุอื่น
  • มวลโน้มถ่วงถูกกระทำ (อังกฤษ: passive gravitational mass) คือการวัดแรงโน้มถ่วงที่สนามโน้มถ่วงภายนอกกระทำต่อวัตถุ

บรรณานุกรม

  • Sir Isaac Newton; N. W. Chittenden (1848). Newton's Principia: The mathematical principles of natural philosophy. D. Adee. สืบค้นเมื่อ 12 March 2011.

แหล่งข้อมูลอื่น