ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โอลิมปิกวิชาการ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
โอลิมปิกวิชาการทั่วไป มีทั้งหมด 14 สาขา ดังนี้
โอลิมปิกวิชาการทั่วไป มีทั้งหมด 14 สาขา ดังนี้


* [[คณิตศาสตร์โอลิมปิก]] (IMO, ตั้งแต่ พ.ศ. 2502; เว้นใน พ.ศ. 2523)
* [[คณิตศาสตร์โอลิมปิก]] (IMO, ตั้งแต่ พ.ศ. 2502; เว้นใน พ.ศ. 2523)สงขลา
* [[ฟิสิกส์โอลิมปิก]] (IPhO, ตั้งแต่ พ.ศ. 2510; เว้นใน พ.ศ. 2516, 2521, 2523)
* [[ฟิสิกส์โอลิมปิก]] (IPhO, ตั้งแต่ พ.ศ. 2510; เว้นใน พ.ศ. 2516, 2521, 2523)ชลบุรี
* [[เคมีโอลิมปิก]] (IChO, ตั้งแต่ พ.ศ. 2511; เว้นใน พ.ศ. 2514)
* [[เคมีโอลิมปิก]] (IChO, ตั้งแต่ พ.ศ. 2511; เว้นใน พ.ศ. 2514)ภูเก็ต
* [[คอมพิวเตอร์โอลิมปิก]] (IOI, ตั้งแต่ พ.ศ. 2532)
* [[คอมพิวเตอร์โอลิมปิก]] (IOI, ตั้งแต่ พ.ศ. 2532)
* [[ชีววิทยาโอลิมปิก]] (IBO, ตั้งแต่ พ.ศ. 2533)
* [[ชีววิทยาโอลิมปิก]] (IBO, ตั้งแต่ พ.ศ. 2533)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:31, 5 กันยายน 2562

โอลิมปิกวิชาการ (อังกฤษ: International Science Olympiads) เป็นกลุ่มของการแข่งขันระดับนานาชาติในสาขาต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์ ผู้เข้าร่วมแข่งขันได้รับการคัดเลือกจากนักเรียนมัธยมปลายที่เก่งที่สุด 4-6 คนในแต่ละประเทศ ผ่านกระบวนการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการในระดับประเทศ ณ ปัจจุบันมีทั้งหมด 12 เวที แบ่งออกได้เป็น 2 รุ่น ได้แก่ รุ่นมัธยมศึกษาตอนต้น และรุ่นมัธยมศึกษาตอนปลาย

โอลิมปิกวิชาการทั่วไป มีทั้งหมด 14 สาขา ดังนี้

โอลิมปิกวิชาการในประเทศไทย

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นหน่วยงานที่ดูแลการคัดเลือกและจัดส่งผู้แทนประเทศไทยเข้าแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิก เคมีโอลิมปิก ชีววิทยาโอลิมปิก คณิตศาสตร์โอลิมปิก และคอมพิวเตอร์โอลิมปิก ส่วนมูลนิธิ สอวน.จะคัดเลือกผู้แทนประเทศไทยเข้าแข่งขันในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์โอลิมปิก ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ดาราศาสตร์โอลิมปิก ฟิสิกส์ดาราศาสตร์และดาราศาสตร์โอลิมปิก ภูมิศาสตร์โอลิมปิก และโลกและอวกาศโอลิมปิก ซึ่งต้องผ่านการสอบคัดเลือกหลายรอบ ร่วมถึงต้องเข้าค่ายอบรมเข้มตามที่แต่ละหน่วยงานกำหนดไว้

แหล่งข้อมูลอื่น