ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาก้าง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Torpido (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Torpido (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
| color = violet
| color = violet
| name = ก้าง
| name = ก้าง
| image = ปลาก้าง.jpg
| image = 83-20060518004058.jpg
| image_width = 200px
| image_width = 200px
| regnum = [[Animalia]]
| regnum = [[Animalia]]
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
| familia = [[Channidae]]
| familia = [[Channidae]]
| genus = ''[[Channa]]''
| genus = ''[[Channa]]''
| species = ''C. gachua''
| species = ''C. limbata''
| binomial = '''Channa gachua'''
| binomial = '''Channa limbata'''
| binomial_authority = Hamilton, [[ค.ศ. 1822]]
| binomial_authority = [[จอร์จ คูเวียร์|Cuvier]], [[ค.ศ. 1831]]
}}
}}


'''ปลาก้าง''' เป็นชื่อ[[ปลาน้ำจืด]]ชนิดหนึ่งใน[[วงศ์ปลาช่อน]] มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Channa gachua'' หรือ ''Channa limbata'' มีรูปร่างคล้ายปลาในวงศ์นี้ทั่วไป แต่มีส่วนหัวมนกลมและโตกว่า ลำตัวสีน้ำตาลอ่อนถึงน้ำเงินคล้ำ และมีลายประหรือจุดสีคล้ำ ท้องสีจาง โคนครีบอกมีลายเส้นสีคล้ำเป็นแถบ 4-6 แถบ ครีบหลัง ครีบก้น และครีบหางมีสีเทาหรือน้ำเงินเรือ ขอบมีสีส้มหรือสีจาง โดยปลาในแต่ละถิ่นจะมีสีสันแตกต่างกันไปตามสภาพแวดล้อมที่อาศัย
'''ปลาก้าง''' เป็นชื่อปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งใน[[วงศ์ปลาช่อน]] มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Channa limbata'' มีรูปร่างคล้ายปลาในวงศ์นี้ทั่วไป แต่มีส่วนหัวมนกลมและโตกว่า ลำตัวสีน้ำตาลอ่อนถึงน้ำเงินคล้ำ และมีลายประหรือจุดสีคล้ำ ท้องสีจาง โคนครีบอกมีลายเส้นสีคล้ำเป็นแถบ 4-6 แถบ ครีบหลัง ครีบก้น และครีบหางมีสีเทาหรือน้ำเงินเรือ ขอบมีสีส้มหรือสีจาง โดยปลาในแต่ละถิ่นจะมีสีสันแตกต่างกันไปตามสภาพแวดล้อมที่อาศัย


มีการกระจายพันธุ์ค่อนข้างกว้างนับจาก[[อินเดีย]] [[บังคลาเทศ]] จนถึง[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] [[พม่า]] [[ประเทศไทย|ไทย]] [[มาเลเซีย]] [[อินโดนีเชีย]] [[บาหลี]] โดยอาจพบได้ถึงต้นน้ำหรือลำธารบน[[ภูเขา]]
มีการกระจายพันธุ์ค่อนข้างกว้างนับจาก[[อินเดีย]] [[บังคลาเทศ]] จนถึง[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] [[พม่า]] [[ประเทศไทย|ไทย]] [[มาเลเซีย]] [[อินโดนีเชีย]] [[บาหลี]] โดยอาจพบได้ถึงต้นน้ำหรือลำธารบน[[ภูเขา]]


ปลาก้าง จัดว่าเป็นหนึ่งของปลาวงศ์นี้ที่มีขนาดเล็กที่สุด กล่าวคือ มีขนาดโตเต็มที่ได้ไม่เกิน 1 ฟุต นับเป็นปลาที่พบได้ทุกแหล่งน้ำของประเทศ โดยอาจจะเรียกชื่อเพี้ยนไปตามถิ่นว่า "กั๊ง" มีพฤติกรรมการวางไข่โดยตัวผู้เป็นผู้อมไข่และเลี้ยงดูลูกอ่อน ปลาก้างยังถือเป็นปลาเศรษฐกิจ แต่ไม่มีการเลี้ยงในเชิงพาณิชย์เหมือนปลาช่อนชนิดอื่น และยังพบเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย
ปลาก้าง จัดว่าเป็นหนึ่งของปลาวงศ์นี้ที่มีขนาดเล็กที่สุด กล่าวคือ มีขนาดโตเต็มที่ได้ไม่เกิน 1 ฟุต นับเป็นปลาที่พบได้ทุกแหล่งน้ำของประเทศ โดยอาจจะเรียกชื่อเพี้ยนไปตามถิ่นว่า "กั๊ง" มีพฤติกรรมการวางไข่โดยตัวผู้เป็นผู้อมไข่และเลี้ยงดูลูกอ่อน ปลาก้างยังถือเป็นปลาเศรษฐกิจ แต่ไม่มีการเลี้ยงในเชิงพาณิชย์เหมือนปลาช่อนชนิดอื่น และยังพบเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย

''อนึ่ง นี้ยังมีปลาอีกชนิดหนึ่งที่มีขนาด รูปร่างที่คล้ายคลึงกับปลาก้างมาก มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Channa gachua แต่ไม่พบในประเทศไทย โดยปลาก้างชนิดนี้พบในภูมิภาค[[เอเชียใต้]] แต่ข้อมูลปัจจุบันหลายแห่งมักจะใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ของปลาก้างที่พบในประเทศไทย เป็นปลาก้างชนิดนี้''


== แหล่งข้อมูลอื่น==
== แหล่งข้อมูลอื่น==
* [http://filaman.ifm-geomar.de/summary/SpeciesSummary.php?id=50504 รูปและข้อมูลปลาก้าง]
* [http://filaman.ifm-geomar.de/summary/SpeciesSummary.php?id=50504 รูปและข้อมูลปลาก้าง]
* [http://aquagachua.client.jp/su.html รูปปลาก้างเพิ่มเติม]


[[หมวดหมู่:วงศ์ปลาช่อน]]
[[หมวดหมู่:วงศ์ปลาช่อน]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:47, 4 ธันวาคม 2550

ก้าง
ไฟล์:83-20060518004058.jpg
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Actinopterygii
อันดับ: Perciformes
วงศ์: Channidae
สกุล: Channa
สปีชีส์: C.  limbata
ชื่อทวินาม
Channa limbata
Cuvier, ค.ศ. 1831

ปลาก้าง เป็นชื่อปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาช่อน มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Channa limbata มีรูปร่างคล้ายปลาในวงศ์นี้ทั่วไป แต่มีส่วนหัวมนกลมและโตกว่า ลำตัวสีน้ำตาลอ่อนถึงน้ำเงินคล้ำ และมีลายประหรือจุดสีคล้ำ ท้องสีจาง โคนครีบอกมีลายเส้นสีคล้ำเป็นแถบ 4-6 แถบ ครีบหลัง ครีบก้น และครีบหางมีสีเทาหรือน้ำเงินเรือ ขอบมีสีส้มหรือสีจาง โดยปลาในแต่ละถิ่นจะมีสีสันแตกต่างกันไปตามสภาพแวดล้อมที่อาศัย

มีการกระจายพันธุ์ค่อนข้างกว้างนับจากอินเดีย บังคลาเทศ จนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พม่า ไทย มาเลเซีย อินโดนีเชีย บาหลี โดยอาจพบได้ถึงต้นน้ำหรือลำธารบนภูเขา

ปลาก้าง จัดว่าเป็นหนึ่งของปลาวงศ์นี้ที่มีขนาดเล็กที่สุด กล่าวคือ มีขนาดโตเต็มที่ได้ไม่เกิน 1 ฟุต นับเป็นปลาที่พบได้ทุกแหล่งน้ำของประเทศ โดยอาจจะเรียกชื่อเพี้ยนไปตามถิ่นว่า "กั๊ง" มีพฤติกรรมการวางไข่โดยตัวผู้เป็นผู้อมไข่และเลี้ยงดูลูกอ่อน ปลาก้างยังถือเป็นปลาเศรษฐกิจ แต่ไม่มีการเลี้ยงในเชิงพาณิชย์เหมือนปลาช่อนชนิดอื่น และยังพบเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย

อนึ่ง นี้ยังมีปลาอีกชนิดหนึ่งที่มีขนาด รูปร่างที่คล้ายคลึงกับปลาก้างมาก มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Channa gachua แต่ไม่พบในประเทศไทย โดยปลาก้างชนิดนี้พบในภูมิภาคเอเชียใต้ แต่ข้อมูลปัจจุบันหลายแห่งมักจะใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ของปลาก้างที่พบในประเทศไทย เป็นปลาก้างชนิดนี้

แหล่งข้อมูลอื่น