ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระวันรัต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Caramel latte 56 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''สมเด็จพระวันรัต''' (อ่านว่า วันนะรัด) แปลว่า ''ผู้ยินดีในการอยู่ป่า ผู้รักการอยู่ป่า'' เดิมใช้คำว่า '''พนรัตน์''' และ '''วันรัตน์''' ซึ่งแปลว่า ''ป่าแก้ว'' ปัจจุบันเป็น[[ราชทินนาม]][[สมเด็จพระราชาคณะ]]รูปหนึ่งในฝ่าย[[ธรรมยุติกนิกาย]]
{{กล่องข้อมูล ตำแหน่งทางการเมือง
{{กล่องข้อมูล ตำแหน่งทางการเมือง
| post =สมเด็จพระวันรัต
| post =สมเด็จพระวันรัต
บรรทัด 16: บรรทัด 15:
| formation = พ.ศ.2325
| formation = พ.ศ.2325
| succession =
| succession =
| salary =27,400 บาท<ref>{{cite web|title=บัญชีนิตยภัต ฉบับปรับปรุงใหม่ เริ่มใช้ตั้งแต่ 1 เมษายน 2554 เป็นต้นไป|url=http://pkt.onab.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=148&Itemid=132|publisher=สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดภูเก็ต|date=27 เมษายน 2555|accessdate=15 กุมภาพันธ์ 2559}}</ref>
| salary =
| inaugural = พระธรรมไตรโลก (ชื่น) ว่าที่พระพนรัตน
| inaugural = พระธรรมไตรโลก (ชื่น) ว่าที่พระพนรัตน
| website =
| website =
}}
}}
'''สมเด็จพระวันรัต''' แปลว่า ''ผู้ยินดีในการอยู่ป่า ผู้รักการอยู่ป่า'' เดิมใช้คำว่า '''พนรัตน์''' และ '''วันรัตน์''' ซึ่งแปลว่า ''ป่าแก้ว'' ปัจจุบันเป็น[[ราชทินนาม]][[สมเด็จพระราชาคณะ]]รูปหนึ่งในฝ่าย[[ธรรมยุติกนิกาย]]


'''วันรัตน์''' เป็นนามที่ได้มาจาก[[ลังกา]] สันนิษฐานตามคำแปลว่าคงเป็น[[สังฆนายก]]ฝ่าย[[อรัญวาสี]] คู่กับ[[สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์]]ซึ่งเป็นสังฆนายกฝ่าย[[คามวาสี]] ใน[[พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ]] ปรากฏนามนี้ครั้งแรกในรัชสมัย[[สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ]] ว่าพระพนรัตน์ป่าแก้วให้ฤกษ์แก่[[พระศรีศิลป์ (พระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราช)|พระศรีสิน]]ในการก่อกบฏ<ref name="พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ">''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ'', พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, นนทบุรี : ศรีปัญญา, 2553.</ref> ที่มีชื่อเสียงปรากฏเด่นชัดอีกรูปหนึ่งคือสมเด็จพระพนรัตน์ป่าแก้ว ซึ่งได้เข้าไปถวายพระพร[[สมเด็จพระนเรศวรมหาราช]]ขอพระราชทานอภัยโทษแก่ข้าราชการที่ตามเสด็จไม่ทันในครั้งทำ[[สงครามยุทธหัตถี]]<ref name="พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ"/>
'''วันรัตน์''' เป็นนามที่ได้มาจาก[[ลังกา]] สันนิษฐานตามคำแปลว่าคงเป็น[[สังฆนายก]]ฝ่าย[[อรัญวาสี]] คู่กับ[[สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์]]ซึ่งเป็นสังฆนายกฝ่าย[[คามวาสี]] ใน[[พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)]] ปรากฏนามนี้ครั้งแรกในรัชสมัย[[สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ]] ว่า[[พระพนรัตน์ป่าแก้ว]]ให้ฤกษ์แก่[[พระศรีศิลป์ (พระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราช)|พระศรีสิน]]ในการก่อกบฏ<ref name="พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ">''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ'', พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, นนทบุรี : ศรีปัญญา, 2553.</ref> ที่มีชื่อเสียงปรากฏเด่นชัดอีกรูปหนึ่งคือสมเด็จพระพนรัตน์ป่าแก้ว ซึ่งได้เข้าไปถวายพระพร[[สมเด็จพระนเรศวรมหาราช]]ขอพระราชทานอภัยโทษแก่ข้าราชการที่ตามเสด็จไม่ทันในครั้งทำ[[สงครามยุทธหัตถี]]<ref name="พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ"/>


'''สมเด็จพระวันรัต''' ในสมัยกรุงศรีอยุธยาพระมหาเถระผู้จะได้รับพระราชทานนามนี้จะต้องมีความสำคัญมากในด้านภูมิธรรม โดยเฉพาะความป็นผู้ยินดีในการปฏิบัติ[[กรรมฐาน]] ยินดีในการปลีกวิเวก
'''สมเด็จพระวันรัต''' ในสมัยกรุงศรีอยุธยาพระมหาเถระผู้จะได้รับพระราชทานนามนี้จะต้องมีความสำคัญมากในด้านภูมิธรรม โดยเฉพาะความป็นผู้ยินดีในการปฏิบัติ[[กรรมฐาน]] ยินดีในการปลีกวิเวก
บรรทัด 54: บรรทัด 54:
| 3 || [[สมเด็จพระพนรัตน (แก้ว)]] || [[วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร]] || พ.ศ. 2337
| 3 || [[สมเด็จพระพนรัตน (แก้ว)]] || [[วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร]] || พ.ศ. 2337
|-
|-
| 4 || [[สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (มี)|สมเด็จพระพนรัตน (มี)]] || วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร || ?
| 4 || [[สมเด็จพระสังฆราช (มี)|สมเด็จพระพนรัตน (มี)]] || วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร || ?
|-
|-
| 5 || [[พระอาจารย์อาจ พนรัตน|สมเด็จพระพนรัตน (อาจ)]] || วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร || พ.ศ. 2359
| 5 || [[พระอาจารย์อาจ พนรัตน|สมเด็จพระพนรัตน (อาจ)]] || วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร || พ.ศ. 2359
|-
|-
| 6 || [[สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน)|สมเด็จพระพนรัตน (ด่อน)]] || วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร || พ.ศ. 2363
| 6 || [[สมเด็จพระอริยวงษญาณ (ด่อน)|สมเด็จพระพนรัตน (ด่อน)]] || วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร || พ.ศ. 2363
|-
|-
| 7 || [[สมเด็จพระพนรัตน (ทองดี)]] || วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร || ?
| 7 || [[สมเด็จพระพนรัตน (ทองดี)]] || วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร || ?
|-
|-
| 8 || [[สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (นาค)|สมเด็จพระพนรัตน (นาค)]]|| [[วัดราชบุรณราชวรวิหาร]] || พ.ศ. 2373
| 8 || [[สมเด็จพระอริยวงษญาณ (นาค)|สมเด็จพระพนรัตน (นาค)]]|| [[วัดราชบุรณราชวรวิหาร]] || พ.ศ. 2373
|-
|-
| 9 || [[สมเด็จพระพนรัตน (ฤกษ์)]] || [[วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร]] || พ.ศ. 2386
| 9 || [[สมเด็จพระพนรัตน (ฤกษ์)]] || [[วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร]] || พ.ศ. 2386
บรรทัด 78: บรรทัด 78:
| 15 || [[สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต)]] || [[วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร]] || พ.ศ. 2466
| 15 || [[สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต)]] || [[วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร]] || พ.ศ. 2466
|-
|-
| 16 || [[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)|สมเด็จพระวันรัต (แพ ติสฺสเทโว)]] || วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร || พ.ศ. 2472
| 16 || [[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (แพ ติสฺสเทโว)|สมเด็จพระวันรัต (แพ ติสฺสเทโว)]] || วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร || พ.ศ. 2472
|-
|-
| 17 || [[สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี)]] || วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร || พ.ศ. 2482
| 17 || [[สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี)]] || วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร || พ.ศ. 2482
บรรทัด 84: บรรทัด 84:
| 18 || [[สมเด็จพระวันรัต (เผื่อน ติสฺสทตฺโต)]] || วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร || พ.ศ. 2488
| 18 || [[สมเด็จพระวันรัต (เผื่อน ติสฺสทตฺโต)]] || วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร || พ.ศ. 2488
|-
|-
| 19 || [[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ)|สมเด็จพระวันรัต (ปลด กิตฺติโสภโณ)]] || วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร || พ.ศ. 2490
| 19 || [[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (ปลด กิตฺติโสภโณ)|สมเด็จพระวันรัต (ปลด กิตฺติโสภโณ)]] || วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร || พ.ศ. 2490
|-
|-
| 20 || [[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ)|สมเด็จพระวันรัต (ปุ่น ปุณฺณสิริ)]] || วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร || พ.ศ. 2504
| 20 || [[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (ปุ่น ปุณฺณสิริ)|สมเด็จพระวันรัต (ปุ่น ปุณฺณสิริ)]] || วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร || พ.ศ. 2504
|-
|-
| 21 ||[[สมเด็จพระวันรัต (ทรัพย์ โฆสโก)]] || [[วัดสังเวชวิศยารามวรวิหาร]] || พ.ศ. 2515
| 21 || [[สมเด็จพระวันรัต (ทรัพย์ โฆสโก)]] || [[วัดสังเวชวิศยารามวรวิหาร]] || พ.ศ. 2515
|-
|-
| 22 || [[สมเด็จพระวันรัต (จับ ฐิตธมฺโม)]] || วัดโสมนัสราชวรวิหาร || พ.ศ. 2520
| 22 || [[สมเด็จพระวันรัต (จับ ฐิตธมฺโม)]] || วัดโสมนัสราชวรวิหาร || พ.ศ. 2520
บรรทัด 98: บรรทัด 98:


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{เริ่มอ้างอิง}}
* [[พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช)]], ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,''' '' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
* [[พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช)]], ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,''' '' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
{{จบอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}


[[หมวดหมู่:สมเด็จพระวันรัต| ]]
[[หมวดหมู่:สมเด็จพระวันรัต| ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:51, 8 สิงหาคม 2562

สมเด็จพระวันรัต
ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน
สมเด็จพระวันรัต (จุนท์ พฺรหฺมคุตฺโต)

ตั้งแต่ พ.ศ.2552-ปัจจุบัน
การเรียกขานท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯ
จวนพระอารามหลวง
ผู้แต่งตั้งพระมหากษัตริย์ไทย
วาระตลอดพระชีพ
ผู้ประเดิมตำแหน่งพระธรรมไตรโลก (ชื่น) ว่าที่พระพนรัตน
สถาปนาพ.ศ.2325
เงินตอบแทน27,400 บาท[1]

สมเด็จพระวันรัต แปลว่า ผู้ยินดีในการอยู่ป่า ผู้รักการอยู่ป่า เดิมใช้คำว่า พนรัตน์ และ วันรัตน์ ซึ่งแปลว่า ป่าแก้ว ปัจจุบันเป็นราชทินนามสมเด็จพระราชาคณะรูปหนึ่งในฝ่ายธรรมยุติกนิกาย

วันรัตน์ เป็นนามที่ได้มาจากลังกา สันนิษฐานตามคำแปลว่าคงเป็นสังฆนายกฝ่ายอรัญวาสี คู่กับสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ซึ่งเป็นสังฆนายกฝ่ายคามวาสี ในพระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ปรากฏนามนี้ครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ว่าพระพนรัตน์ป่าแก้วให้ฤกษ์แก่พระศรีสินในการก่อกบฏ[2] ที่มีชื่อเสียงปรากฏเด่นชัดอีกรูปหนึ่งคือสมเด็จพระพนรัตน์ป่าแก้ว ซึ่งได้เข้าไปถวายพระพรสมเด็จพระนเรศวรมหาราชขอพระราชทานอภัยโทษแก่ข้าราชการที่ตามเสด็จไม่ทันในครั้งทำสงครามยุทธหัตถี[2]

สมเด็จพระวันรัต ในสมัยกรุงศรีอยุธยาพระมหาเถระผู้จะได้รับพระราชทานนามนี้จะต้องมีความสำคัญมากในด้านภูมิธรรม โดยเฉพาะความป็นผู้ยินดีในการปฏิบัติกรรมฐาน ยินดีในการปลีกวิเวก

ฐานานุกรม

สมเด็จพระวันรัต มีฐานานุศักดิ์ตั้งฐานานุกรมได้ 10 รูป ดังนี้

  • พระครูปลัดสัมพิพัฒนสุตาจารย์ ญาณโกศล วิมลศีลาจาร มหาคณาธิการนายก ปิฎกธรรมรักขิต

รายนามสมเด็จพระวันรัตสมัยรัตนโกสินทร์

ลำดับที่ รายนาม วัด ได้รับสมณศักดิ์
1 พระธรรมธีรราชมหามุนี (ชื่น) ว่าที่พระพนรัตน วัดหงส์รัตนารามราชวรวิหาร พ.ศ. 2325
2 สมเด็จพระพนรัตน (สุก) วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร ?
3 สมเด็จพระพนรัตน (แก้ว) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร พ.ศ. 2337
4 สมเด็จพระพนรัตน (มี) วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร ?
5 สมเด็จพระพนรัตน (อาจ) วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร พ.ศ. 2359
6 สมเด็จพระพนรัตน (ด่อน) วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร พ.ศ. 2363
7 สมเด็จพระพนรัตน (ทองดี) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร ?
8 สมเด็จพระพนรัตน (นาค) วัดราชบุรณราชวรวิหาร พ.ศ. 2373
9 สมเด็จพระพนรัตน (ฤกษ์) วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร พ.ศ. 2386
10 สมเด็จพระวันรัตน (เซ่ง) วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร พ.ศ. 2394
11 สมเด็จพระวันรัตน์ (สมบุรณ์) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร พ.ศ. 2415
12 สมเด็จพระวันรัตน์ (ทับ พุทฺธสิริ) วัดโสมนัสราชวรวิหาร พ.ศ. 2422
13 สมเด็จพระวันรัต (แดง สีลวฑฺฒโน) วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร พ.ศ. 2434
14 สมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย) วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร พ.ศ. 2443
15 สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต) วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร พ.ศ. 2466
16 สมเด็จพระวันรัต (แพ ติสฺสเทโว) วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร พ.ศ. 2472
17 สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี) วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร พ.ศ. 2482
18 สมเด็จพระวันรัต (เผื่อน ติสฺสทตฺโต) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร พ.ศ. 2488
19 สมเด็จพระวันรัต (ปลด กิตฺติโสภโณ) วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร พ.ศ. 2490
20 สมเด็จพระวันรัต (ปุ่น ปุณฺณสิริ) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร พ.ศ. 2504
21 สมเด็จพระวันรัต (ทรัพย์ โฆสโก) วัดสังเวชวิศยารามวรวิหาร พ.ศ. 2515
22 สมเด็จพระวันรัต (จับ ฐิตธมฺโม) วัดโสมนัสราชวรวิหาร พ.ศ. 2520
23 สมเด็จพระวันรัต (นิรันตร์ นิรนฺตโร) วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร พ.ศ. 2539
24 สมเด็จพระวันรัต (จุนท์ พฺรหฺมคุตฺโต) วัดบวรนิเวศวิหารราชวรวิหาร พ.ศ. 2552

อ้างอิง

  1. "บัญชีนิตยภัต ฉบับปรับปรุงใหม่ เริ่มใช้ตั้งแต่ 1 เมษายน 2554 เป็นต้นไป". สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดภูเก็ต. 27 เมษายน 2555. สืบค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. 2.0 2.1 พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, นนทบุรี : ศรีปัญญา, 2553.