ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โครงกระดูกมนุษย์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8423805 สร้างโดย 171.98.18.171 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
}}
}}


'''โครงกระดูกมนุษย์''' เป็นโครงประกอบภายในร่างกาย ประกอบไปด้วย[[กระดูก]]ชิ้นต่าง ๆ ในร่างกาย ซึ่งเชื่อมต่อกันด้วยโครงสร้างของ[[ข้อต่อ]] [[เอ็น]] [[กล้ามเนื้อ]] [[กระดูกอ่อน]] และ[[อวัยวะ]]ต่าง ๆ กระดูกในมนุษย์ผู้ใหญ่มีประมาณ 206 ชิ้น และคิดเป็นประมาณ 20 เปอร์เซนต์ของน้ำหนักร่างกาย อย่างไรก็ดี จำนวนของกระดูกอาจแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล ทารกแรกเกิดจะมีกระดูกจำนวนประมาณ 300 ชิ้น ซึ่งต่อมากระดูกบางชิ้นจะมีการเชื่อมรวมกันระหว่างการเจริญเติบโต<ref>{{cite book|title=Mammal anatomy : an illustrated guide.|date=2010|publisher=Marshall Cavendish|location=New York|isbn=9780761478829|page=129|url=https://books.google.ca/books?id=mTPI_d9fyLAC&pg=PA129}}</ref> เช่นส่วนกระเบนเหน็บและส่วนก้นกบของ[[กระดูกสันหลัง]] นอกจากนี้ในทารกแรกเกิดยังมีโครงสร้างของกระดูกอ่อนอยู่มาก เพื่อให้มีการสร้างโครงสร้างของกระดูกระหว่างการเจริญเติบโต และจะมีการพัฒนาไปเป็นกระดูกทั้งหมดเมื่อสิ้นสุดช่วง[[วัยรุ่น]]
'''โครงกระดูกมนุษย์''' เป็นโครงประกอบภายในร่างกาย ประกอบไปด้วย[[กระดูก]]ชิ้นต่าง ๆ ในร่างกาย ซึ่งเชื่อมต่อกันด้วยโครงสร้างของ[[ข้อต่อ]] [[เอ็น]] [[กล้ามเนื้อ]] [[กระดูกอ่อน]] และ[[อวัยวะ]]ต่าง ๆ กระดูกในมนุษย์ผู้ใหญ่มีประมาณ 206 ชิ้นถ้าขาดเติมให้ครบ และคิดเป็นประมาณ 95 เปอร์เซนต์ของน้ำหนักร่างกาย อย่างไรก็ดี จำนวนของกระดูกครบสมบูรณ์​แบบ มนุษย์หรือคน​จะมีกระดูกจำนวนประมาณ 300 ชิ้น ซึ่งต่อกันระดูกบางชิ้นจะมีการเชื่อมรวมกันระหว่างการเจริญเติบโต ประสานรวมกันกับกล้ามเนื้อในร่างกายเช่นส่วนกระเบนเหน็บและส่วนก้นกบของ[[กระดูกสันหลัง]] นอกจากนี้ในทารกแรกเกิดยังมีโครงสร้างของกระดูกอ่อนอยู่มาก เพื่อให้มีการสร้างโครงสร้างของกระดูกระหว่างการเจริญเติบโต และจะมีการพัฒนาไปเป็นกระดูกทั้งหมดเมื่อสิ้นสุดช่วง[[วัยรุ่น]]


โครงกระดูกมนุษย์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ ได้แก่ [[โครงกระดูกแกน]] และ[[โครงกระดูกรยางค์]] โครงกระดูกแกนประกอบด้วย[[กระดูกสันหลัง]] [[กระดูกซี่โครง]] [[กระดูกอก]] [[กะโหลกศีรษะ]] และกระดูกอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ส่วนโครงกระดูกรยางค์ ซึ่งเชื่อมกับโครงกระดูกแกน ประกอบด้วย[[กระดูกโอบอก]] [[กระดูกเชิงกราน]] และกระดูกของ[[รยางค์บน]] และ[[รยางค์ล่าง]]
โครงกระดูกมนุษย์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ ได้แก่ [[โครงกระดูกแกน]] และ[[โครงกระดูกรยางค์]] โครงกระดูกแกนประกอบด้วย[[กระดูกสันหลัง]] [[กระดูกซี่โครง]] [[กระดูกอก]] [[กะโหลกศีรษะ]] และกระดูกอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ส่วนโครงกระดูกรยางค์ ซึ่งเชื่อมกับโครงกระดูกแกน ประกอบด้วย[[กระดูกโอบอก]] [[กระดูกเชิงกราน]] และกระดูกของ[[รยางค์บน]] และ[[รยางค์ล่าง]]


โครงกระดูกมนุษย์มีหน้าที่สำคัญหกประการ ได้แก่ ค้ำจุนร่างกาย เคลื่อนไหว ป้องกันอวัยวะภายใน ผลิต[[เซลล์เม็ดเลือด]] สะสมแร่ธาตุ และควบคุม[[ฮอร์โมน]]
โครงกระดูกมนุษย์มีหน้าที่สำคัญ ได้แก่ ร่างกาย เคลื่อนไหว ป้องกันอวัยวะภายใน ผลิต[[เซลล์เม็ดเลือด|เซลล์เม็ดเลือด​ทำทุกอย่างให้สมบูรณ์แบบ]] สะสมแร่ธาตุ สารอาหารที่สำคัญ​ และควบคุม[[ฮอร์โมน]]ได้ดีมาก


กระดูกจะติดต่อกับกระดูกอีกชิ้น และประกอบเข้าด้วยกันเป็นโครงกระดูกด้วยเอ็นและกล้ามเนื้อเป็นส่วนใหญ่ ยกเว้นใน[[กระดูกโคนลิ้น]] (Hyoid bone) ซึ่งเป็นกระดูกที่ไม่ติดต่อกับกระดูกชิ้นอื่น ๆ โดยตรง แต่จะยึดไว้ในบริเวณส่วนบนของ[[คอหอย]]ด้วยเอ็นและกล้ามเนื้อใกล้เคียง
กระดูกจะติดต่อกับกระดูกอีกชิ้น และประกอบเข้าด้วยกันเป็นโครงกระดูกด้วยเอ็นและกล้ามเนื้อเป็นส่วนใหญ่ ยกเว้นใน[[กระดูกโคนลิ้น]] (Hyoid bone) ซึ่งเป็นกระดูกที่ไม่ติดต่อกับกระดูกชิ้นอื่น ๆ โดยตรง แต่จะยึดไว้ในบริเวณส่วนบนของ[[คอหอย]]ด้วยเอ็นและกล้ามเนื้อใกล้เคียง

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:16, 29 กรกฎาคม 2562

โครงกระดูกมนุษย์
โครงกระดูกมนุษย์ที่จัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ในนครโอคลาโฮมา สหรัฐอเมริกา
รายละเอียด
ตัวระบุ
ภาษากรีกσκελετός
TA98A02.0.00.000
TA2352
FMA23881
อภิธานศัพท์กายวิภาคศาสตร์

โครงกระดูกมนุษย์ เป็นโครงประกอบภายในร่างกาย ประกอบไปด้วยกระดูกชิ้นต่าง ๆ ในร่างกาย ซึ่งเชื่อมต่อกันด้วยโครงสร้างของข้อต่อ เอ็น กล้ามเนื้อ กระดูกอ่อน และอวัยวะต่าง ๆ กระดูกในมนุษย์ผู้ใหญ่มีประมาณ 206 ชิ้นถ้าขาดเติมให้ครบ และคิดเป็นประมาณ 95 เปอร์เซนต์ของน้ำหนักร่างกาย อย่างไรก็ดี จำนวนของกระดูกครบสมบูรณ์​แบบ มนุษย์หรือคน​จะมีกระดูกจำนวนประมาณ 300 ชิ้น ซึ่งต่อกันระดูกบางชิ้นจะมีการเชื่อมรวมกันระหว่างการเจริญเติบโต ประสานรวมกันกับกล้ามเนื้อในร่างกายเช่นส่วนกระเบนเหน็บและส่วนก้นกบของกระดูกสันหลัง นอกจากนี้ในทารกแรกเกิดยังมีโครงสร้างของกระดูกอ่อนอยู่มาก เพื่อให้มีการสร้างโครงสร้างของกระดูกระหว่างการเจริญเติบโต และจะมีการพัฒนาไปเป็นกระดูกทั้งหมดเมื่อสิ้นสุดช่วงวัยรุ่น

โครงกระดูกมนุษย์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ ได้แก่ โครงกระดูกแกน และโครงกระดูกรยางค์ โครงกระดูกแกนประกอบด้วยกระดูกสันหลัง กระดูกซี่โครง กระดูกอก กะโหลกศีรษะ และกระดูกอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ส่วนโครงกระดูกรยางค์ ซึ่งเชื่อมกับโครงกระดูกแกน ประกอบด้วยกระดูกโอบอก กระดูกเชิงกราน และกระดูกของรยางค์บน และรยางค์ล่าง

โครงกระดูกมนุษย์มีหน้าที่สำคัญ ได้แก่ ร่างกาย เคลื่อนไหว ป้องกันอวัยวะภายใน ผลิตเซลล์เม็ดเลือด​ทำทุกอย่างให้สมบูรณ์แบบ สะสมแร่ธาตุ สารอาหารที่สำคัญ​ และควบคุมฮอร์โมนได้ดีมาก

กระดูกจะติดต่อกับกระดูกอีกชิ้น และประกอบเข้าด้วยกันเป็นโครงกระดูกด้วยเอ็นและกล้ามเนื้อเป็นส่วนใหญ่ ยกเว้นในกระดูกโคนลิ้น (Hyoid bone) ซึ่งเป็นกระดูกที่ไม่ติดต่อกับกระดูกชิ้นอื่น ๆ โดยตรง แต่จะยึดไว้ในบริเวณส่วนบนของคอหอยด้วยเอ็นและกล้ามเนื้อใกล้เคียง

กระดูกชิ้นที่ใหญ่ที่สุดในมนุษย์คือกระดูกต้นขา (Femur) ในขณะที่กระดูกชิ้นเล็กที่สุดคือกระดูกโกลน (Stapes) ซึ่งเป็นกระดูกของหูชั้นกลางชิ้นหนึ่ง

ประเภทของโครงกระดูก

โครงกระดูกแกน

โครงกระดูกแกนในผู้ใหญ่ประกอบด้วยกระดูกจำนวน 80 ชิ้น ซึ่งวางตัวในแนวแกนกลางของลำตัว ได้แก่

โครงกระดูกรยางค์

โครงกระดูกรยางค์ในผู้ใหญ่จะมีทั้งหมด 126 ชิ้น ซึ่งจะอยู่ในส่วนแขนและขาของร่างกายเพื่อช่วยในการเคลื่อนไหว โดยจะแบ่งออกเป็น 6 ส่วน ได้แก่

หน้าที่

โครงกระดูกของมนุษย์

โครงกระดูกมีหน้าที่ที่สำคัญหลายประการ ได้แก่

โรคที่เกี่ยวกับโครงกระดูก

โรคที่เกี่ยวกับโครงกระดูกจะส่งผลต่อความแข็งแรงและความสามารถในการเคลื่อนไหวของร่างกายโดยตรง ความผิดปกติของโครงกระดูกที่พบบ่อยคือกระดูกหัก ซึ่งเกิดจากการที่กระดูกได้รับแรงที่มากเกินไป ซึ่งอาจเป็นเพียงกระดูกที่หักอยู่ภายใน หรืออาจมีส่วนใดส่วนหนึ่งของกระดูกที่โผล่พ้นผิวหนังขึ้นมาก็ได้ในกรณีร้ายแรง นอกจากนี้ ภาวะกระดูกหักยังพบได้ง่ายในผู้ป่วยโรคกระดูกพรุน ซึ่งมักพบในผู้สูงอายุและสตรีวัยหมดประจำเดือน โรคของกระดูกที่จัดว่าร้ายแรง ได้แก่ เนื้องอกและมะเร็งของกระดูก ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการรักษาโดยการผ่าตัด นอกจากนี้ ภาวะข้ออักเสบ ยังส่งผลเสียต่อกระดูกในบริเวณข้อต่อ ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกเจ็บปวดอย่างรุนแรงและเคลื่อนไหวลำบากอีกด้วย

อ้างอิง