ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาหรับ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รวมไป|ชาวอาหรับ}}
{{ความหมายอื่น|เกี่ยวกับ= |สำหรับ= |ดูที่=อาหรับ (แก้ความกำกวม)|เปลี่ยนทาง=}}
{{ความหมายอื่น|เกี่ยวกับ= |สำหรับ= |ดูที่=อาหรับ (แก้ความกำกวม)|เปลี่ยนทาง=}}
{{ใช้ปีคศ|width=280px}}
{{ใช้ปีคศ|width=280px}}
{{Infobox ethnic group
|group = ชาวอาหรับ<br/> <small>{{lang|ar|"العرب"}}</small> <br/> <small>"Al-ʿArab"</small>
|image = {{Image array
|perrow = 5
| image1 =|caption1 = [[อัล มุตะนับบี]]
| image2 = Al-kindi.jpeg|caption2 = [[อัล กินดี]]
| image3 =|caption3= [[อิบน์ ค็อลดูน]]
| image4 = BlackSheba-Text.jpg|caption4 = [[พระราชินีแห่งชีบา|พระราชินีแห่งชีบา "บิลกิส"]]
| image5 = Bust of emperor Philippus Arabus - Hermitage Museum.jpg|caption5 = [[จักรพรรดิฟิลิปชาวอาหรับ]]
| image6 =|caption6 = [[อิบนฺ อัล-ฮัยษัม]]
| image7 = Muhammad Ahmad al-Mahdi.jpg|caption7 = [[มูฮัมหมัด อาห์หมัด]]
| image8 = Sherif-Hussein.jpg|caption8 = [[ฮุซัยน์ อิบน์ อะลี ชารีฟประจำมักกะฮ์|ชารีฟ ฮุซัยน์]]
| image9 =|caption9 = [[อิบนิ ซาอูด]]
| image10 = Omar Mukhtar 13.jpg|caption10= [[โอมาร์ มุกตาร์]]
| image11 = Arafat keffiyeh.JPG|caption11 = [[ยัสเซอร์ อาราฟัต]]
| image12 =|caption12 = [[สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านกอบูส บิน ซะอีด อัสซะอีด|กอบูส บิน ซะอีด อัสซะอีด]]
| image13 = Nawal_El_Moutawakel_(cropped).JPG|caption13 = [[Nawal El Moutawakel]]
| image14 =|caption14 = [[Fayeq Abdul-Jaleel|Fayeq al-Ayadhi]]
| image15 = Manal al-Shraif.jpg|caption15 = [[Manal al-Sharif]]
| image16 = Queen Rania in Washington, DC.jpg|caption16 = [[สมเด็จพระราชินีรานยาแห่งจอร์แดน|รานยา อัลยัสซิน]]
| image17 = കര്‍മാന്‍.jpg|caption17 = [[ตะวักกุล กัรมาน]]
| image18 = Naseer Shamma en los Encuentros Averroes de Córdoba (2011).jpg||caption18 = [[Naseer Shamma]]
| image19 = Fairuz04.jpg|caption19= [[ไฟรุซ]]
| image20 = Houari Boumediène.jpg|caption20= [[Houari Boumediene]]
}}
|population = '''420-450 ล้านคน'''<ref>Margaret Kleffner Nydell [http://books.google.com/books?id=ZNoiieefqAcC&printsec Understanding Arabs: A Guide For Modern Times], Intercultural Press, 2005, ISBN 1931930252, page xxiii, 14</ref>
|region1 = {{flagcountry|Arab League}}
|pop1 = 400 ล้านคน<ref>total population 450 million, [[CIA Factbook]] estimates an Arab population of 450 million, see article text.</ref>
|region2 = {{flagcountry|Brazil|link=Brazilian Arabs}}
|pop2 = 10,000,000<ref name="saudiaramcoworld.com">http://www.saudiaramcoworld.com/issue/200505/the.arabs.of.brazil.htm</ref>
|region3 = {{flagcountry|France}}
|pop3 = 5,880,000<ref name="economist.com">[http://www.economist.com/node/13377324 France's ethnic minorities: To count or not to count]. The Economist (2009-03-26). Retrieved on 2013-07-12.</ref>
|region4 = {{flagcountry|Indonesia}}
|pop4 = 5,000,000 (Arab ancestry)<ref name="Hadramaut dan Para Kapiten Arab">[http://alwishahab.wordpress.com/2009/08/20/hadramaut-dan-para-kapiten-arab/ Hadramaut dan Para Kapiten Arab]</ref>
|region5 = {{flagcountry|United States}}
|pop5 = 3,500,000<ref name="The Arab American Institute">{{cite web|url=http://www.aaiusa.org/arab-americans/22/demographics |title=The Arab American Institute |publisher=Aaiusa.org |accessdate=17 September 2011}}</ref>
|region7 = {{flagcountry|Sri Lanka}}
|pop7 = 1,870,000<ref name="statistics.gov.lk">{{cite web|title=A2 : Population by ethnic group according to districts, 2012|url=http://www.statistics.gov.lk/PopHouSat/CPH2011/index.php?fileName=pop42&gp=Activities&tpl=3|work=Department of Census & Statistics, Sri Lanka}}</ref>
|region8 = {{flagcountry|Israel}}
|pop8 = 1,658,000<ref name="ICBS2013">{{cite web |url=http://www.cbs.gov.il/www/hodaot2013n/11_13_097e.pdf |title=65th Independence Day - More than 8 Million Residents in the State of Israel |publisher=[[Israel Central Bureau of Statistics]] |date=14 April 2013 |accessdate=12 February 2014}}</ref>
|region9 = {{flagcountry|Venezuela}}
|pop9 = 1,600,000<ref>http://www.syria-today.com/index.php/january-2009/105-society/375-suweida-sways-to-the-sound-of-salsa-</ref>
|region10 = {{flagcountry|Kazakhstan}}
|pop10 = 1,554,006
|region11 = {{flagcountry|Malaysia}}
|pop11 = 980,400
|region12 = {{flagcountry|Brunei}}
|pop12 = 420,550
|languages = [[ภาษาอาหรับ|อาหรับ]], [[Modern South Arabian]],<ref>[http://www.brillonline.nl/subscriber/entry?entry=islam_SIM-4477 Kister, M.J. "{{unicode|Ķuāḍa}}." Encyclopaedia of Islam. Edited by: P. Bearman, Th. Bianquis, C.E. Bosworth, E. van Donzel and W.P. Heinrichs. Brill, 2008. Brill Online. 10 April 2008]: "The name is an early one and can be traced in fragments of the old Arab poetry. The tribes recorded as {{unicode|Ķuḍā'ī}} were: Kalb [q.v.], Djuhayna, Balī, Bahrā' [q.v.], Khawlān [q.v.], Mahra, Khushayn, Djarm, 'Udhra [q.v.], Balkayn [see al-Kayn ], Tanūkh [q.v.] and Salīh"</ref><ref>Serge D. Elie, [http://cy.revues.org/document186.html "Hadiboh: From Peripheral Village to Emerging City"], ''Chroniques Yéménites'': "In the middle, were the Arabs who originated from different parts of the mainland (e.g., prominent Mahrî tribes10, and individuals from Hadramawt, and Aden)". Footnote 10: "Their neighbors in the West scarcely regarded them as Arabs, though they themselves consider they are of the pure stock of Himyar."</ref> [[varieties of Arabic]], [[ภาษาฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]], [[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]], [[ภาษาฮีบรู|ฮีบรู]]
|religions = [[อิสลาม]] (predominantly [[Sunni Islam|Sunni]], minority [[Shia Islam|Shia]]) with [[Christianity]] and other religions as minorities
|related = <!-- Please do not change this section without reaching a consensus. Jews, Assyrians etc. are already Semitic--> Other [[Semitic|Semitic peoples]] and various [[Afro-Asiatic languages|Afro-Asiatic peoples]]
}}
[[ไฟล์:Arab world.png|thumb|280px|กลุ่มประเทศอาหรับ]]
[[ไฟล์:Arab world.png|thumb|280px|กลุ่มประเทศอาหรับ]]

'''อาหรับ''' ({{lang-ar|<big>عربي</big>}}, ''ʿarabi'' พหูพจน์ <big>العرب</big> ''al-ʿarab'', {{lang-en|Arab}}) คือบุคคลกลุ่มบุคคลที่มีชาติพันธุ์ พูดภาษา หรือมีวัฒนธรรมที่เรียกว่า “อาหรับ”<ref>[http://lexicorient.com/cgi-bin/eo-direct.pl?hamas.htm Encyclopedia of the Orient]</ref><ref>Francis Mading Deng, ''War of Visions: Conflict of Identities in the Sudan '', Published 1995,
'''อาหรับ''' หรือ '''ชาวอาหรับ''' ({{lang-ar|<big>عربي</big>}}, ''ʿarabi'' พหูพจน์ <big>العرب</big> ''al-ʿarab'', {{lang-en|Arab}}) คือบุคคลกลุ่มบุคคลที่มีชาติพันธุ์ พูดภาษา หรือมีวัฒนธรรมที่เรียกว่า “อาหรับ”<ref>[http://lexicorient.com/cgi-bin/eo-direct.pl?hamas.htm Encyclopedia of the Orient]</ref><ref>Francis Mading Deng, ''War of Visions: Conflict of Identities in the Sudan '', Published 1995,
Brookings Institution Press, p. 405, via Google Books [http://books.google.com/books?id=iAPLHidx8MkC&pg=PA405&lpg=PA405&dq=definition+of+arabs&source=web&ots=H4z7bAsMBe&sig=6EMASoYXOzoWsTMBsAjDn1gucxg&hl=en]</ref>เป็นชนชาติหนึ่งที่อาศัยในบริเวณ[[คาบสมุทรอาหรับ]]ที่เป็นทะเลทราย รวมทั้งชนชาติที่พูดภาษาอาหรับในเอเชียตะวันตก และ[[แอฟริกาเหนือ]] ส่วนใหญ่นับถือ[[ศาสนาอิสลาม]] คำว่าอาหรับใน[[ตระกูลภาษาเซมิติก]]แปลว่า[[ทะเลทราย]]หรือผู้อาศัยอยู่ในทะเลทราย ส่วนใหญ่ดำรงชีพแบบเร่ร่อน จึงแปลคำว่าอาหรับว่าเร่ร่อนได้ด้วย
Brookings Institution Press, p. 405, via Google Books [http://books.google.com/books?id=iAPLHidx8MkC&pg=PA405&lpg=PA405&dq=definition+of+arabs&source=web&ots=H4z7bAsMBe&sig=6EMASoYXOzoWsTMBsAjDn1gucxg&hl=en]</ref>เป็นชนชาติหนึ่งที่อาศัยในบริเวณ[[คาบสมุทรอาหรับ]]ที่เป็นทะเลทราย รวมทั้งชนชาติที่พูดภาษาอาหรับในเอเชียตะวันตก และ[[แอฟริกาเหนือ]] ส่วนใหญ่นับถือ[[ศาสนาอิสลาม]] คำว่าอาหรับใน[[ตระกูลภาษาเซมิติก]]แปลว่า[[ทะเลทราย]]หรือผู้อาศัยอยู่ในทะเลทราย ส่วนใหญ่ดำรงชีพแบบเร่ร่อน จึงแปลคำว่าอาหรับว่าเร่ร่อนได้ด้วย


บรรทัด 19: บรรทัด 71:
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Arabs|อาหรับ}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Arabs|อาหรับ}}



[[หมวดหมู่:อาหรับ]]
[[หมวดหมู่:อาหรับ| ]]
[[หมวดหมู่:กลุ่มชาติพันธุ์ในเอเชีย|อ]]
[[หมวดหมู่:กลุ่มชาติพันธุ์ในทวีปแอฟริกา|อ]]
[[หมวดหมู่:กลุ่มชาติพันธุ์ในตะวันออกกลาง‎|อ]]
[[หมวดหมู่:กลุ่มชนเซมิติก|อ]]
[[หมวดหมู่:ชาวแอโฟรเอชีแอติก|อ]]
{{โครงมนุษย์}}
{{โครงประวัติศาสตร์}}
{{โครงประวัติศาสตร์}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:12, 29 กรกฎาคม 2562

ชาวอาหรับ
"العرب"
"Al-ʿArab"
ประชากรทั้งหมด
420-450 ล้านคน[1]
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
 สันนิบาตอาหรับ400 ล้านคน[2]
 บราซิล10,000,000[3]
 ฝรั่งเศส5,880,000[4]
 อินโดนีเซีย5,000,000 (Arab ancestry)[5]
 สหรัฐ3,500,000[6]
 ศรีลังกา1,870,000[7]
 อิสราเอล1,658,000[8]
 เวเนซุเอลา1,600,000[9]
 คาซัคสถาน1,554,006
 มาเลเซีย980,400
 บรูไน420,550
ภาษา
อาหรับ, Modern South Arabian,[10][11] varieties of Arabic, ฝรั่งเศส, อังกฤษ, ฮีบรู
ศาสนา
อิสลาม (predominantly Sunni, minority Shia) with Christianity and other religions as minorities
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง
Other Semitic peoples and various Afro-Asiatic peoples
กลุ่มประเทศอาหรับ

อาหรับ หรือ ชาวอาหรับ (อาหรับ: عربي, ʿarabi พหูพจน์ العرب al-ʿarab, อังกฤษ: Arab) คือบุคคลกลุ่มบุคคลที่มีชาติพันธุ์ พูดภาษา หรือมีวัฒนธรรมที่เรียกว่า “อาหรับ”[12][13]เป็นชนชาติหนึ่งที่อาศัยในบริเวณคาบสมุทรอาหรับที่เป็นทะเลทราย รวมทั้งชนชาติที่พูดภาษาอาหรับในเอเชียตะวันตก และแอฟริกาเหนือ ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม คำว่าอาหรับในตระกูลภาษาเซมิติกแปลว่าทะเลทรายหรือผู้อาศัยอยู่ในทะเลทราย ส่วนใหญ่ดำรงชีพแบบเร่ร่อน จึงแปลคำว่าอาหรับว่าเร่ร่อนได้ด้วย

ชาวอาหรับเป็นชาวเซมิติกเช่นเดียวกับชาวยิว จัดอยู่ในพวกคอเคเซอยด์ ในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเก่ากล่าวว่าอับราฮัมมีลูกชาย 2 คน คนโตชื่ออิสไมส์หรืออิสมาอีลเป็นต้นตระกูลของชาวอาหรับ คนที่ 2 ชื่อไอแซกเป็นต้นตระกูลของชาวยิว ก่อนที่มุฮัมมัดจะประกาศศาสนาอิสลามชาวอาหรับจะอยู่กันเป็นเผ่า จงรักภักดีต่อเผ่าของตนมาก วิถีชีวิตของชาวอาหรับมีสองแบบ คือแบบอยู่เป็นหมู่บ้าน มีอาชีพค้าขายและทำการเกษตร อีกกลุ่มหนึ่งใช้ชีวิตแบบเร่ร่อนเรียกว่าเบดูอิน อาศัยอยู่ในกระโจมเพื่อเคลื่อนย้ายได้สะดวก ชาวเบดูอินกับชาวอาหรับที่ตั้งถิ่นฐานมักดูถูกกัน ไม่ลงรอยกัน หลังจากมุฮัมมัดประกาศศาสนาอิสลาม จึงเกิดความสามัคคีในหมู่ชาวอาหรับ ผู้นับถือศาสนาอิสลามในยุคแรกๆมักถูกกลั่นแกล้งและปราบปรามจึงเกิดการทำญิฮาดหรือการต่อสู้เพื่อศาสนาขึ้น

ปัจจุบันประเทศที่จัดว่าเป็นประเทศอาหรับเป็นสมาชิกของสันนิบาตอาหรับ ในปัจจุบันมีสมาชิก 21 ประเทศ ได้แก่ แอลจีเรีย จิบูตี บาห์เรน อิรัก จอร์แดน คูเวต เลบานอน ลิเบีย มอริตาเนีย โมร็อกโก โอมาน ปาเลสไตน์ กาตาร์ ซาอุดิอาระเบีย โซมาเลีย ซูดาน ซีเรีย ตูนีเซีย อียิปต์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และ เยเมน ในปัจจุบันยังมีความขัดแย้งในหมู่ชาวอาหรับอยู่ เช่น ปัญหาปาเลสไตน์ ความขัดแย้งทางศาสนา เช่น ความขัดแย้งระหว่างชาวอาหรับที่นับถือศาสนาอิสลามและศาสนาคริสต์ในเลบานอน ความขัดแย้งระหว่างชาวอาหรับที่นับถือศาสนาอิสลามนิกายสุหนี่และชีอะห์ เป็นต้น

ภาษาอาหรับเป็นภาษาที่เก่ากว่าวัฒนธรรมอาหรับที่เริ่มเผยแพร่ในตะวันออกกลางตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 2 เมื่ออาหรับคริสเตียนเช่นกาสนาวิยะห์ ลักห์มิยะห์ และ Banu Judham เริ่มโยกย้ายเข้าไปตั้งถิ่นฐานในทะเลทรายซีเรียและในบริเวณลว้าน[14][15] ภาษาอาหรับเพิ่มความสำคัญมากขึ้นพร้อมกับการรุ่งเรืองของศาสนาอิสลามในคริสต์ศตวรรษที่ 7 ในการเป็นภาษาของอัลกุรอาน และวัฒนธรรมอาหรับก็เริ่มเผยแพร่ออกไปพร้อมกับการขยายดินแดนของอิสลาม[16]

อ้างอิง

  • ศรีสุรางค์ พูลทรัพย์. อาหรับ ใน สารานุกรมประวัติศาสตร์สากลสมัยใหม่: เอเชีย เล่ม 1 อักษร A-B ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กทม.ราชบัณฑิตยสถาน. 2539. หน้า 239 – 241
  1. Margaret Kleffner Nydell Understanding Arabs: A Guide For Modern Times, Intercultural Press, 2005, ISBN 1931930252, page xxiii, 14
  2. total population 450 million, CIA Factbook estimates an Arab population of 450 million, see article text.
  3. http://www.saudiaramcoworld.com/issue/200505/the.arabs.of.brazil.htm
  4. France's ethnic minorities: To count or not to count. The Economist (2009-03-26). Retrieved on 2013-07-12.
  5. Hadramaut dan Para Kapiten Arab
  6. "The Arab American Institute". Aaiusa.org. สืบค้นเมื่อ 17 September 2011.
  7. "A2 : Population by ethnic group according to districts, 2012". Department of Census & Statistics, Sri Lanka.
  8. "65th Independence Day - More than 8 Million Residents in the State of Israel" (PDF). Israel Central Bureau of Statistics. 14 April 2013. สืบค้นเมื่อ 12 February 2014.
  9. http://www.syria-today.com/index.php/january-2009/105-society/375-suweida-sways-to-the-sound-of-salsa-
  10. Kister, M.J. "Ķuāḍa." Encyclopaedia of Islam. Edited by: P. Bearman, Th. Bianquis, C.E. Bosworth, E. van Donzel and W.P. Heinrichs. Brill, 2008. Brill Online. 10 April 2008: "The name is an early one and can be traced in fragments of the old Arab poetry. The tribes recorded as Ķuḍā'ī were: Kalb [q.v.], Djuhayna, Balī, Bahrā' [q.v.], Khawlān [q.v.], Mahra, Khushayn, Djarm, 'Udhra [q.v.], Balkayn [see al-Kayn ], Tanūkh [q.v.] and Salīh"
  11. Serge D. Elie, "Hadiboh: From Peripheral Village to Emerging City", Chroniques Yéménites: "In the middle, were the Arabs who originated from different parts of the mainland (e.g., prominent Mahrî tribes10, and individuals from Hadramawt, and Aden)". Footnote 10: "Their neighbors in the West scarcely regarded them as Arabs, though they themselves consider they are of the pure stock of Himyar."
  12. Encyclopedia of the Orient
  13. Francis Mading Deng, War of Visions: Conflict of Identities in the Sudan , Published 1995, Brookings Institution Press, p. 405, via Google Books [1]
  14. Banu Judham migration
  15. Ghassanids Arabic linguistic influence in Syria
  16. Islam and the Arabic language

แหล่งข้อมูลอื่น