ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ"

พิกัด: 52°05′11.76″N 4°17′43.80″E / 52.0866000°N 4.2955000°E / 52.0866000; 4.2955000
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แจ้งความเรื่อง 1.คลื่นสัญญาณรบกวนสมองของมนุษย์ และ บุคคลอื่นๆ อีกมากมาย 2.มีการแฮ็คโพสการขาย , ซ่อนโพส หรือโพสไม่ได้ออกไปสู่สาธารณะ ยอดการไลท์,แชร์ ผิดไปจากความเป็นจริง ข้อความการรับข้อมูลสนธณาไม่เป็นจริง ต้องตรวจสอบที่มาที่ไปในการแฮ็คระบบ app ต่างๆ ข้อมูลที่ผิดไปจากความเป็นจริง การขายที่ผิดไปจากความเป็นจริง ผมขายของมา 3-4 ปีแล้ว ผมรู้ข้อมูลการตลาดและการขายคับ และรู้ระบบการสั่งงานบางอย่างของหลายๆ app ถ้าวความจากจานดาวเทียม จานเดียวเทียมจะส่องมาที่ สถานีรับคลื่นต่างๆ เสาโทรศัพท์ จะเป็นตัวปล่อย
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
G(x) (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8420767 สร้างโดย 182.232.208.236 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{hatnote|สำหรับความหมายอื่น ดู [[ศาลโลก]]}}แจ้งความเรื่อง 1.คลื่นสัญญาณรบกวนสมองของมนุษย์ และ บุคคลอื่นๆ อีกมากมาย
{{hatnote|สำหรับความหมายอื่น ดู [[ศาลโลก]]}}
{{Infobox high court

2.มีการแฮ็คโพสการขาย , ซ่อนโพส หรือโพสไม่ได้ออกไปสู่สาธารณะ ยอดการไลท์,แชร์ ผิดไปจากความเป็นจริง  ข้อความการรับข้อมูลสนธณาไม่เป็นจริง

ต้องตรวจสอบที่มาที่ไปในการแฮ็คระบบ app ต่างๆ ข้อมูลที่ผิดไปจากความเป็นจริง การขายที่ผิดไปจากความเป็นจริง ผมขายของมา  3-4 ปีแล้ว ผมรู้ข้อมูลการตลาดและการขายคับ

และรู้ระบบการสั่งงานบางอย่างของหลายๆ app

ถ้าวความจากจานดาวเทียม

จานเดียวเทียมจะส่องมาที่ สถานีรับคลื่นต่างๆ

เสาโทรศัพท์ จะเป็นตัวปล่อย wi-fi มาที่โทรศัพท์ และ ที่ร่างกายมนุษย์ด้วย คลื่นนี้มีความอันตรายต่อร่างกายของมนุษย์มากคับ ถ้านำคลื่นนี่มาใช้งาน ผิดกฏหมายโลกคับ

การหาที่มาของคลื่นความถี่ต้องดูที่จานเดียวเทียมและ เสาสัญญาณว่าส่องมาที่โทรศัพท์ หรือ ที่คน เราถึงจะรู้ว่าส่องมาที่คนหรือโทรศัพท์

ถ้าที่คน ผิดกฏหมาย น่ะคับ จะถือว่ามีการรบกวนจากคลื่นความถี่ ถ้าความถี่สูง อันตรายมาก ต่ำก็อันตราย ดูที่ต้นทางคับว่าส่งมาจากไหนถึงจะสามารถรู้ได้ เพราะต้องป้อนข้อมูลภาษาโดยตรงเท่านั้น เหมือน cnc คือ ป้อนข้อมูลภาษาโดยตรง

2.การสั่งงานจากแอปฟิเคชั่น มาที่ตัวคนก็มี

แต่ต้องใช้ จานดาวเทียมกับคลื่น สัญญาณ ช่วยโดยตรง

จานนี้ต้องสร้างขึ้นมาโดยเฉพาะ เพราะต้องใช้การควบคุมคนละโปรแกรม ประมาณ cnc และ ระบบคลื่นแม่เหล็กขนาดใหญ่

เพื่อ สั่งการโดยตรงมาที่ระบบสมองที่รับรู้ความรู้สึกต่างๆของร่างกาย แต่ต้องใช้ คลื่นสัญญาณ WI-FI

จากเสาสัญญาณโทรศัพท์และ คลื่นสัญญาณบางอย่างช่วย บางอย่างต้องใช้ แอฟฟิเคชั่น เข้ามาช่วย

เราจะสามารถรู้ได้จากการสแกนไปที่ภายในของจานดาวเทียมจะเห็นความแตกต่าง จากจานดาวเทียมปกติ คับ

ในตัวคนมีไฟฟ้าสถิต

ต้องขอช่วย เครื่องสแกนวัตถุของฝรั่งเศสคับ

คลื่นนี้สามารถนำมาใช้ในการสั่งงานในตัวของระบบสมองของมนุษย์ได้  แต่ผิดกฏหมาย เจ้าของลิขสิทธิ์

ผิดกฏหมาย เรื่องรุกล้ำน่านฟ้า และ ละเมิดสิทธิมนุษยชน ความเป็นอิสระของมนุษย์ ทำไม่ได้ผิดกฏหมาย เรื่องล้ำเขตน่านฟ้า และ อิสระภาพส่วนบุคคล จะบัญญัติอยู่ใน สหประชาชาติศาลโลก น่ะคับ เพราะการแฮ็ค และ คลื่นความถี่นี้ ผิดกฏหมาย ระบบนี้ ละเมิดข้อมูลความมั่นคงภายในประเทศ ผิดกฏพระราชบัญญัติคุ้มครองสทธิมนุษยชน ลิขสิทธ์ทางความคิดข้อมูลความลับต่างๆภายใน

ประเทศ และ ส่วนบุคคล แค่แว็ปเดียวบางๆ หรือ ความถี่ต่ำบางๆ สูงจะผิดมาก สามารถทำการสั่งงานการเคลื่อนไหว และ อารมณ์ต่างๆ ของมนุษย็ มีความผิดคับ

จึงไม่สามารถนำมาใช้ได้น่ะคับ

บางกรณีที่เรื่องใหญ่ ๆ ต้องมีหน่วยงาน คอยตรวจสอบ เพื่อ พิจราณาความผิด ที่ควรหรือไม่ควรต่างๆ เช่น การแฮ็คที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนและลิขสิทธ์ทางความคิด ตอนนี้จานดาวเทียมนี้มีการผลิตขึ้นมา นานหลายปีแล้ว ผิดกฏหมายโลกคับ  คลื่นความถี่นี้มีความผิดข้ามชาติ ผิดกฏหมายโลกอยู่นานแล้ว

ถ้าบุคลากรในองค์กรสหประชาชาติรับทราบและบุคลอื่นๆที่ทราบเรื่องนี้แล้วต้องแจ้งไปทางสหประชาชาติเพื่อบัญญัติเป็นกฏหมายไว้ตอนนี้เลย

น่ะคับ ใช้มติศาลโลกมติรวม ใช้ความถูกต้องเท่านั้น และต้องบังคับใช้กฏหมายตอนนี้เลยน่ะคับ

สนามแม่เหล็กโลกน่าจะมีประโยชน์ อาจนำมาช่วยในระบบต่างๆ ของระบบพลังงานต่างๆในโลกได้

ประมาณระบบคลื่นเสียง คับ ลองไปคิดค้นดูน่ะคับ{{Infobox high court
| court_name =ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
| court_name =ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
| native_name = ''Cour internationale de justice''
| native_name = ''Cour internationale de justice''

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:48, 27 กรกฎาคม 2562

ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
Cour internationale de justice
สถาปนาค.ศ. 1945
ที่ตั้งกรุงเฮก, ประเทศเนเธอร์แลนด์
พิกัด52°05′11.76″N 4°17′43.80″E / 52.0866000°N 4.2955000°E / 52.0866000; 4.2955000
ที่มา
วาระตุลาการ9 ปี
จำนวนตุลาการ15 ที่นั่ง
เว็บไซต์www.icj-cij.org
ประธาน
ปัจจุบันRonny Abraham[1]
ตั้งแต่6 กุมภาพันธ์ 2015
ตำแหน่งผู้นำสิ้นสุด5 กุมภาพันธ์ 2018
รองประธาน
ปัจจุบันAbdulqawi Yusuf[1]
ตั้งแต่6 กุมภาพันธ์ 2015
ตำแหน่งผู้นำสิ้นสุด5 กุมภาพันธ์ 2018

ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (อังกฤษ: International Court of Justice; ICJ) หรือภาษาปากว่า ศาลโลก (อังกฤษ: World Court) เป็นศาลซึ่งตั้งขึ้นโดยกฎบัตรสหประชาชาติ เมื่อ พ.ศ. 2489 และเป็นหนึ่งในเสาหลักในระบบสหประชาชาติ ทำหน้าที่สืบเนื่องต่อจากศาลสถิตยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Permanent Court of Justice; IPCJ) ที่ก่อตั้งเมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2463 และยุติบทบาทไปพร้อมกับสันนิบาตชาติ ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศอยู่ในความควบคุมของสหประชาชาติ และมีบัลลังก์ที่วังสันติ (Peace Palace) กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ แต่จะออกนั่งพิจารณาที่อื่นก็ได้

ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศมีอำนาจพิจารณาตัดสินคดีใด ๆ ที่เป็นข้อพิพาทระหว่างประเทศ 2 ประเทศขึ้นไป (contentious case) เช่น ข้อพิพาทเรื่องดินแดนอาณาเขต การละเมิดอำนาจอธิปไตย ปัญหาสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ หรือแม้แต่กรณีที่เกี่ยวข้องกับเอกชนที่รัฐเป็นผู้ฟ้องแทน ฯลฯ ทั้งนี้ ประเทศที่เกี่ยวข้องจะต้องยินยอมรับอำนาจศาลให้เป็นผู้พิจารณาตัดสินก่อนเท่านั้น ศาลจึงจะมีอำนาจพิจารณาตัดสินคดีนั้นได้

นอกจากนี้ ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศยังมีอำนาจวินิจฉัยเพื่อให้ความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาในทางกฎหมายระหว่างประเทศ (advisory opinion) ในกรณีสามกรณีหลัก คือ กรณีแรก ตามที่สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติหรือคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติร้องขอ กรณีที่สอง ตามที่องค์กรอื่นภายใต้สหประชาชาติหรือองค์การชำนัญพิเศษแห่งองค์การสหประชาชาติร้องขอโดยได้รับการอนุมัติจากสมัชชาใหญ่ และ กรณีที่สาม ตามที่ได้มีการให้อำนาจวินิจฉัยปัญหาไว้โดยสนธิสัญญา

ตุลาการศาลยุติธรรมระหว่างประเทศมี 15 คน อยู่ในตำแหน่งคราวละ 9 ปี คนละวาระเดียว การพิจารณาพิพากษาคดีต้องมีตุลาการอย่างน้อย 9 คนนั่งบัลลังก์จึงจะเป็นองค์คณะ อนึ่ง ศาลจะเลือกประธานและรองประธานศาลเอง

ระเบียงภาพ

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 "No. 2015/5" (PDF) (Press release). International Court of Justice. 6 February 2015. สืบค้นเมื่อ 9 February 2015.

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ