ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เมียร์แคต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
'''เมียร์แคต''' ({{lang-en|meerkat, suricate}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Suricata suricatta}}) จัดอยู่ใน[[ไฟลัม]][[สัตว์มีแกนสันหลัง]] ชั้น[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]] มีขนาดลำตัวเล็ก น้ำหนักประมาณ 1 กิโลกรัม (2 ปอนด์) และสูงประมาณ 50 เซนติเมตร (20 นิ้ว) จัดอยู่ใน[[Herpestidae|วงศ์พังพอน]] (Herpestidae) มีถิ่นอาศัยอยู่ใน[[ทะเลทรายคาลาฮารี]]ทางตอนใต้ของ[[ทวีปแอฟริกา]]
'''เมียร์แคต''' ({{lang-en|meerkat, suricate}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Suricata suricatta}}) จัดอยู่ใน[[ไฟลัม]][[สัตว์มีแกนสันหลัง]] ชั้น[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]] มีขนาดลำตัวเล็ก น้ำหนักประมาณ 1 กิโลกรัม (2 ปอนด์) และสูงประมาณ 50 เซนติเมตร (20 นิ้ว) จัดอยู่ใน[[Herpestidae|วงศ์พังพอน]] (Herpestidae) มีถิ่นอาศัยอยู่ใน[[ทะเลทรายคาลาฮารี]]ทางตอนใต้ของ[[ทวีปแอฟริกา]]


จัดเป็นเพียง[[สปีชีส์|ชนิด]]เดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล ''Suricata'' ที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์จนมาถึงปัจจุบันและแบ่งออกได้เป็น 3 [[ชนิดย่อย]] (ดูในตาราง<ref name=ชนิด>{{ITIS|id=621906|taxon=''Suricata''}}</ref>)
จัดเป็นเพียง[[สปีชีส์|ชนิด]]เดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล ''Suricata'' และแบ่งออกได้เป็น 3 [[ชนิดย่อย]] (ดูในตาราง<ref name=ชนิด>{{ITIS|id=621906|taxon=''Suricata''}}</ref>)


เมียร์แคตมีอุ้งเล็บที่มีลักษณะโค้งเพื่อใช้ในการขุด และมีจมูกไวมาก มีขนสั้นสีน้ำตาล มีขนเป็นแนวเส้นขนานพาดข้ามหลัง อาศัยและหาอาหารในโพรงดินที่ขุดขึ้น โดยอาหารได้แก่ [[แมลง]]ชนิดต่าง ๆ รวมถึง[[สัตว์มีกระดูกสันหลัง]]ตัวเล็ก ๆ อีกด้วย อีกทั้งยังสู้และกินสัตว์มีพิษต่าง ๆ ได้อีกด้วย เช่น [[แมงป่อง]] [[ตะขาบ]] [[งูพิษ]] เป็นต้น
เมียร์แคตมีอุ้งเล็บที่มีลักษณะโค้งเพื่อใช้ในการขุด และมีจมูกไวมาก มีขนสั้นสีน้ำตาล มีขนเป็นแนวเส้นขนานพาดข้ามหลัง อาศัยและหาอาหารในโพรงดินที่ขุดขึ้น โดยอาหารได้แก่ [[แมลง]]ชนิดต่าง ๆ รวมถึง[[สัตว์มีกระดูกสันหลัง]]ตัวเล็ก ๆ อีกด้วย อีกทั้งยังสู้และกินสัตว์มีพิษต่าง ๆ ได้อีกด้วย เช่น [[แมงป่อง]] [[ตะขาบ]] [[งูพิษ]] เป็นต้น

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:03, 19 กรกฎาคม 2562

เมียร์แคต
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Mammalia
อันดับ: Carnivora
วงศ์: Herpestidae
สกุล: Suricata
Desmarest, 1804
สปีชีส์: S.  suricatta
ชื่อทวินาม
Suricata suricatta
(Schreber, 1776)
ชนิดย่อย[2]
  • S. s. iona Cabral, 1971
  • S. s. marjoriae Bradfield, 1936
  • S. s. suricatta (Schreber, 1776)
ถิ่นอาศัยของเมียร์แคต

เมียร์แคต (อังกฤษ: meerkat, suricate; ชื่อวิทยาศาสตร์: Suricata suricatta) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีขนาดลำตัวเล็ก น้ำหนักประมาณ 1 กิโลกรัม (2 ปอนด์) และสูงประมาณ 50 เซนติเมตร (20 นิ้ว) จัดอยู่ในวงศ์พังพอน (Herpestidae) มีถิ่นอาศัยอยู่ในทะเลทรายคาลาฮารีทางตอนใต้ของทวีปแอฟริกา

จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Suricata และแบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดย่อย (ดูในตาราง[2])

เมียร์แคตมีอุ้งเล็บที่มีลักษณะโค้งเพื่อใช้ในการขุด และมีจมูกไวมาก มีขนสั้นสีน้ำตาล มีขนเป็นแนวเส้นขนานพาดข้ามหลัง อาศัยและหาอาหารในโพรงดินที่ขุดขึ้น โดยอาหารได้แก่ แมลงชนิดต่าง ๆ รวมถึงสัตว์มีกระดูกสันหลังตัวเล็ก ๆ อีกด้วย อีกทั้งยังสู้และกินสัตว์มีพิษต่าง ๆ ได้อีกด้วย เช่น แมงป่อง ตะขาบ งูพิษ เป็นต้น

มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่บางครั้งอาจมีสมาชิกถึง 30 ตัว และอยู่ร่วมกับสัตว์ขนาดเล็กชนิดอื่น ๆ เช่น กระรอกดิน ไม่ชอบอยู่กับที่ ชอบยืนชะเง้อคอ เพื่อตรวจดูและดมกลิ่นในบริเวณรอบ ๆ จะออกมารับแสงแดดในช่วงเวลาเช้าเพื่อให้ร่างกายอบอุ่น เมียร์แคตถือได้ว่าเป็นสัตว์มีประสาทสัมผัสและการระแวดระวังภัยที่ดีมาก โดยเฉพาะเรื่องการรับฟังเสียงจะสามารถได้ยินเสียงในรัศมีถึง 160 ฟุต (50 เมตร) และจะอพยพย้ายที่อยู่เมื่อมีภัย ทั้งนี้โพรงของเมียร์แคตมีความลึกลงไปในใต้ดิน โพรงดินที่สร้างขึ้นสามารถเชื่อมต่อกัน ทำให้มีช่องทางเข้าออกมากขึ้นและช่วยให้มีทางหลบหนีเมื่อมีภัยมา

เมียร์แคตจะขยายพันธุ์เมื่อมีอายุประมาณ 1 ปี จะออกลูกตามโพรง ช่วงฤดูผสมพันธุ์คือเดือนตุลาคม-มีนาคม ระยะเวลาตั้งท้องประมาณ 11 สัปดาห์ ออกลูกครั้งละ 2-5 ตัว[3]

ไฟล์:Lateral view of head.jpg

ภาพและวีดีโอคลิป

อ้างอิง

  1. Macdonald, D. & Hoffmann, M. (2008). Suricata suricatta. In: IUCN 2008. IUCN Red List of Threatened Species. Downloaded on 22 March 2009. Database entry includes a brief justification of why this species is of least concern.
  2. 2.0 2.1 "Suricata". ระบบข้อมูลการจำแนกพันธุ์แบบบูรณาการ.
  3. เมียร์แคท

แหล่งข้อมูลอื่น

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Suricata suricatta ที่วิกิสปีชีส์