ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อีเทอร์เน็ต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Catherine Laurence (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{IPstack}}
{{IPstack}}
'''อีเทอร์เน็ต''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Ethernet) เป็นเทคโนโลยี[[เครือข่ายคอมพิวเตอร์]]ที่เป็นฐานหลักของเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งหมด
ค้นหาวิกิฮาวเพื่อ...
วิธีการ ปรับค่า Bandwidth เพิ่มความเร็วอินเทอร์เน็ต
ข้อมูลผู้เขียน | ข้อมูลอ้างอิง
ถ้าคุณกำลังหาวิธีเพิ่มความเร็วเน็ตเวลาดาวน์โหลดและอัพโหลด ก็มาถูกบทความแล้ว บอกเลยว่าเน็ตคุณแรงเร็วขึ้นได้แบบไม่ต้องเสียเงินค่าแพ็คเกจเพิ่มเลย ถ้าใครใช้ Apple ไม่ว่าอุปกรณ์ไหน ก็เสียใจด้วย เพราะปรับค่าเน็ตโดยตรงจากในเครื่องไม่ได้ แต่ใครใช้ Windows บทความวิกิฮาวนี้ก็จะแนะนำวิธีการปรับแต่งค่า bandwidth เพิ่มความเร็วเน็ตให้คุณเอง


ส่วน 1 ของ 3: เริ่มต้น
Edit
1
เปิดเมนู Start. ดูที่ด้านซ้ายล่างของหน้าจอ แล้วหาไอคอน Start ที่เป็นหน้าต่างสีๆ ในวงกลม เจอแล้วก็คลิกเลย[1]
2
พิมพ์คำว่า Run ในแถบค้นหา. พอคลิกไอคอน Start แล้ว ให้ดูที่ด้านล่างของหน้าต่าง แล้วพิมพ์ Run ในแถบค้นหา[2]
3
คลิก Run. พอพิมพ์ Run ในแถบค้นหาของเมนู Start แล้ว ให้ดูที่ด้านบนสุดของหน้าต่าง แล้วเลือกโปรแกรม Run จะมีหน้าต่างเล็กๆ สำหรับพิมพ์ชื่อโปรแกรมโผล่ขึ้นมา
4
พิมพ์ GPEDIT.MSC. แล้วคลิก OK เป็นคำสั่งสำหรับเปิดหน้าต่างใหม่ชื่อ Local Group Policy Editor[3]
Advertisement
ส่วน 2 ของ 3: เข้า Bandwidth
Edit
1
หา Limit Reservable Bandwidth. พอหน้าต่าง Local Group Policy Editor โผล่มาแล้ว ทางซ้ายจะมีหลายตัวเลือก ให้ขยาย Administrative Templates จาก Computer Configuration (ไม่ใช่ User Configuration) โดยคลิกที่ลูกศรเล็กๆ ใน Administrative Templates ให้ขยาย Network และใน Network ให้เลือก QoS Packets Scheduler[4] จะเห็น Limit Reservable Bandwith ทางขวาของหน้าต่าง
2
คลิก Limit Reservable Bandwidth. พอเข้ามาใน QoS Packets Scheduler แล้ว ให้ดับเบิลคลิกที่ Limit Reservable Bandwidth
3
พิมพ์ 0%. ในหน้าต่าง Limit Reservable Bandwidth ให้ดูที่ล่างหัวข้อ Options ทางซ้ายของหน้าต่าง จะมีให้กำหนด Bandwidth Limit เอง ก็พิมพ์ 0 ไป แล้วคลิก OK
4
เปิดเมนู Start. ตอนนี้ให้กลับไปที่ Start พอเปิดเมนู Start แล้ว ให้ดูทางขวา แล้วคลิก Control Panel[5]
5
คลิก Network and Sharing. พอเข้ามาใน Control Panel ให้เลื่อนลงไปคลิก Network and Sharing
6
เลือก Change Adapter Settings. ในหน้าต่าง Network and Sharing จะเห็นข้อมูลเบื้องต้นของสัญญาณเน็ตที่คุณใช้ ให้ดูทางซ้ายของหน้าต่าง แล้วคลิก Change Adapter Settings
Advertisement
ส่วน 3 ของ 3: เพิ่มความเร็วเน็ต
Edit
1
คลิก Local Area Connection. จากนั้นเลื่อนลงไปคลิก Properties
2
คลิก Internet Protocol Version 4. แล้วเลือก Properties
3
เปลี่ยน DNS address. ใน tab general ของหน้าต่าง Internet Protocol Version 4 ให้เลื่อนลงไปที่ตัวเลือก Use The Following DNS Server Addresses จากนั้นคลิกวงกลมข้างๆ เพื่อเปิดใช้งานตัวเลือกนี้[6]
4
พิมพ์ค่าต่อไปนี้. ด้านล่าง Use The Following DNS Server Addresses จะมีช่องกรอกค่าเป็นตัวเลข 2 บรรทัดเรียงกัน บรรทัดแรกคือ Preferred DNS Server และบรรทัดที่ 2 คือ Alternate DNS Server ให้พิมพ์ 8.8.8.8 ในช่องแรก และพิมพ์ 8.8.4.4. ในช่องที่ 2
5
คลิก OK. พอพิมพ์ address ตามข้อบนแล้ว ให้คลิก OK จากนั้นปิดหน้าต่างอื่นๆ ที่เปิดอยู่ให้หมด
เท่านี้ความเร็วเน็ตของคุณก็จะเพิ่มขึ้นถึง 95%
Advertisement
เคล็ดลับ
Edit
อย่าลืมเซฟ settings เดิมไว้ เผื่อ DNS server ใหม่ใช้ไม่ได้ จะได้เปลี่ยนกลับมาใช้ settings เดิมได้
Advertisement
คำเตือน
Edit
บทความนี้มีไว้อ่านประดับความรู้เท่านั้น อย่าเอาไปใช้ในทางที่ผิดล่ะ
Advertisementนเทอร์เน็ตความเร็วสูง ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Ethernet) เป็นเทคโนโลยี[[เครือข่ายคอมพิวเตอร์]]ที่เป็นฐานหลักของเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งหมด
เนื่องจากเป็นเทคโนโลยี [[LAN]] ที่ได้รับความนิยมมากที่สุด
เนื่องจากเป็นเทคโนโลยี [[LAN]] ที่ได้รับความนิยมมากที่สุด
เทคโนโลยีนี้ได้ถูกพัฒนาและปรับปรุงภายใต้ความดูแลรับผิดชอบของ [[IEEE]]
เทคโนโลยีนี้ได้ถูกพัฒนาและปรับปรุงภายใต้ความดูแลรับผิดชอบของ [[IEEE]]


สิ่งสำคัญที่ได้รับการเปลี่ยนแปลงปรับปรุง คือ ความเร็วในการรับส่งข้อมูล (Bandwidth)
สิ่งสำคัญที่ได้รับการเปลี่ยนแปลงปรับปรุง คือ "ความเร็วในการรับส่งข้อมูล (Bandwidth)"
โดยมีการปรับให้มีความเร็ว 1000 Mbps เป็น 1000 เมกะบิตต่อวินาที ซึ่งเรียก Ethernet นี้ว่า Fast Ethernet
โดยมีการปรับปรุงความเร็วจาก 10 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) เป็น 100 เมกะบิตต่อวินาที ซึ่งเรียก Ethernet นี้ว่า Fast Ethernet
มีทั้งระบบการส่งสัญญาณแบบทางคู่ (Full-Duplex) ซึ่งได้รับความนิยมมากกว่า [[Asynchronous Transfer Mode|ATM]] (Asynchronous Transfer Mode)
มีทั้งระบบการส่งสัญญาณแบบกึ่งทางคู่ (Half-Duplex) และแบบทางคู่ (Full-Duplex) ซึ่งได้รับความนิยมมากกว่า [[Asynchronous Transfer Mode|ATM]] (Asynchronous Transfer Mode)


ในปี 1999 ได้มีการพัฒนาระบบการส่งข้อมูลของอีเทอร์เน็ต ให้มีความเร็วที่ 1000 Mbp หรือ 32 จิกะบิตต่อวินาที (Gbps) โดยใช้การส่งสัญญาณจาก 2 คู่สาย เป็น 4 คู่สาย โดยยังคงใช้พอร์ตการเชื่อมต่อแบบที่ทันสมัยที่ระบบ 1000 Mbps และ 10 Mbp ใช้อยู่ (Registered Jack 45: RJ45) และยังคงสามารถเลือกใช้งานระบบการส่งสัญญาณแบบกึ่งทางคู่ และแบบทางคู่ ได้ เช่นเดียวกับระบบ 100 Mbps
ในปี 1999 ได้มีการพัฒนาระบบการส่งข้อมูลของอีเทอร์เน็ต ให้มีความเร็วที่ 1000 Mbps หรือ 1 จิกะบิตต่อวินาที (Gbps) โดยใช้การส่งสัญญาณจาก 2 คู่สาย เป็น 4 คู่สาย โดยยังคงใช้พอร์ตการเชื่อมต่อแบบเดิมที่ระบบ 100 Mbps และ 10 Mbps ใช้อยู่ (Registered Jack 45: RJ45) และยังคงสามารถเลือกใช้งานระบบการส่งสัญญาณแบบกึ่งทางคู่ และแบบทางคู่ ได้ เช่นเดียวกับระบบ 100 Mbps


คอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบอีเทอร์เน็ตที่ทำงานที่ 100 Mbps จะยังคงสามารถต่อกับ อุปกรณ์ 1000 Mbps ได้ แต่ความเร็วจะลดลงมาแค่ที่การส่งข้อมูลที่อัตราความเร็ว 100 Mbps เช่นเดียวกับ คอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบอีเทอร์เน็ต 1000 Mbps มาเชื่อมต่อกับ อุปกรณ์ 100 Mbps
คอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบอีเทอร์เน็ตที่ทำงานที่ 100 Mbps จะยังคงสามารถต่อกับ อุปกรณ์ 1000 Mbps ได้ แต่ความเร็วจะลดลงมาแค่ที่การส่งข้อมูลที่อัตราความเร็ว 100 Mbps เช่นเดียวกับ คอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบอีเทอร์เน็ต 1000 Mbps มาเชื่อมต่อกับ อุปกรณ์ 100 Mbps


ปัจจุบัน ได้มีการพัฒนาระบบอีเทอร์เน็ตให้มีอัตราการส่งข้อมูลที่ 10000 จิกะบิตต่อวินาที (10000 Mbps) โดยยังคงมีความสามารถ เช่นเดียวกับระบบ 32 จิกะบิตต่อวินาที (เลือกการส่งสัญญาณแบบทางคู่หรือกึ่งทางคู่ได้.นำอุปกรณ์รุ่นนี้มาเชื่อมต่อได้)
ปัจจุบัน ได้มีการพัฒนาระบบอีเทอร์เน็ตให้มีอัตราการส่งข้อมูลที่ 10 จิกะบิตต่อวินาที (10000 Mbps) โดยยังคงมีความสามารถ เช่นเดียวกับระบบ 1 จิกะบิตต่อวินาที (เลือกการส่งสัญญาณแบบทางคู่หรือกึ่งทางคู่ได้, นำอุปกรณ์รุ่นก่อนหน้ามาเชื่อมต่อได้)


[[หมวดหมู่:เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัย]]
[[หมวดหมู่:เครือข่ายคอมพิวเตอร์]]
[[หมวดหมู่:สิ่งประดิษฐ์ของสหรัฐอเมริกา]]
[[หมวดหมู่:สิ่งประดิษฐ์ของสหรัฐอเมริกา]]
[[หมวดหมู่:มาตรฐานไอทริปเพิลอี]]
[[หมวดหมู่:มาตรฐานไอทริปเพิลอี]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:59, 17 กรกฎาคม 2562

อีเทอร์เน็ต (อังกฤษ: Ethernet) เป็นเทคโนโลยีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เป็นฐานหลักของเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งหมด เนื่องจากเป็นเทคโนโลยี LAN ที่ได้รับความนิยมมากที่สุด เทคโนโลยีนี้ได้ถูกพัฒนาและปรับปรุงภายใต้ความดูแลรับผิดชอบของ IEEE

สิ่งสำคัญที่ได้รับการเปลี่ยนแปลงปรับปรุง คือ "ความเร็วในการรับส่งข้อมูล (Bandwidth)" โดยมีการปรับปรุงความเร็วจาก 10 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) เป็น 100 เมกะบิตต่อวินาที ซึ่งเรียก Ethernet นี้ว่า Fast Ethernet มีทั้งระบบการส่งสัญญาณแบบกึ่งทางคู่ (Half-Duplex) และแบบทางคู่ (Full-Duplex) ซึ่งได้รับความนิยมมากกว่า ATM (Asynchronous Transfer Mode)

ในปี 1999 ได้มีการพัฒนาระบบการส่งข้อมูลของอีเทอร์เน็ต ให้มีความเร็วที่ 1000 Mbps หรือ 1 จิกะบิตต่อวินาที (Gbps) โดยใช้การส่งสัญญาณจาก 2 คู่สาย เป็น 4 คู่สาย โดยยังคงใช้พอร์ตการเชื่อมต่อแบบเดิมที่ระบบ 100 Mbps และ 10 Mbps ใช้อยู่ (Registered Jack 45: RJ45) และยังคงสามารถเลือกใช้งานระบบการส่งสัญญาณแบบกึ่งทางคู่ และแบบทางคู่ ได้ เช่นเดียวกับระบบ 100 Mbps

คอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบอีเทอร์เน็ตที่ทำงานที่ 100 Mbps จะยังคงสามารถต่อกับ อุปกรณ์ 1000 Mbps ได้ แต่ความเร็วจะลดลงมาแค่ที่การส่งข้อมูลที่อัตราความเร็ว 100 Mbps เช่นเดียวกับ คอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบอีเทอร์เน็ต 1000 Mbps มาเชื่อมต่อกับ อุปกรณ์ 100 Mbps

ปัจจุบัน ได้มีการพัฒนาระบบอีเทอร์เน็ตให้มีอัตราการส่งข้อมูลที่ 10 จิกะบิตต่อวินาที (10000 Mbps) โดยยังคงมีความสามารถ เช่นเดียวกับระบบ 1 จิกะบิตต่อวินาที (เลือกการส่งสัญญาณแบบทางคู่หรือกึ่งทางคู่ได้, นำอุปกรณ์รุ่นก่อนหน้ามาเชื่อมต่อได้)