ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อนุสรณ์ วงศ์วรรณ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Hakim dorloh (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Hakim dorloh (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 31: บรรทัด 31:


== การเมือง ==
== การเมือง ==
นายอนุสรณ์ วงศ์วรรณ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร [[จังหวัดลำพูน]] 4 สมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี 4 กระทรวง ได้แก่ รัฐมนตรีช่วยว่าการ[[กระทรวงอุตสาหกรรม]] รัฐมนตรีช่วยว่าการ[[กระทรวงมหาดไทย]] (รัฐบาลนาย[[บรรหาร ศิลปอาชา]]) รัฐมนตรีช่วยว่าการ[[กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม]] (รัฐบาล นาย[[ชวน หลีกภัย]]) รัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงวัฒนธรรม]] (รัฐบาลนาย[[สมัคร สุนทรเวช]]) และรัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์]] (รัฐบาลนาย[[สมัคร สุนทรเวช]])
นายอนุสรณ์ วงศ์วรรณ เป็นอดีต[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน]] 4 สมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี 4 กระทรวง ได้แก่ รัฐมนตรีช่วยว่าการ[[กระทรวงอุตสาหกรรม]] รัฐมนตรีช่วยว่าการ[[กระทรวงมหาดไทย]] (รัฐบาลนาย[[บรรหาร ศิลปอาชา]]) รัฐมนตรีช่วยว่าการ[[กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม]] (รัฐบาล นาย[[ชวน หลีกภัย]]) รัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงวัฒนธรรม]] (รัฐบาลนาย[[สมัคร สุนทรเวช]]) และรัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์]] (รัฐบาลนาย[[สมัคร สุนทรเวช]])


ในปี พ.ศ. 2551 นายอนุสรณ์ วงศ์วรรณ ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี เนื่องจากเป็นกรรมการบริหารพรรคพลังประชาชน<ref>[http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9510000142370 เปิดชื่อ 109 กก.บริหาร “พปช.-ชาติไทย-มัชฌิมาฯ” ถูกยุบ-เพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง 5 ปี]</ref>
ในปี พ.ศ. 2551 นายอนุสรณ์ วงศ์วรรณ ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี เนื่องจากเป็นกรรมการบริหารพรรคพลังประชาชน<ref>[http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9510000142370 เปิดชื่อ 109 กก.บริหาร “พปช.-ชาติไทย-มัชฌิมาฯ” ถูกยุบ-เพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง 5 ปี]</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:35, 11 กรกฎาคม 2562

อนุสรณ์ วงศ์วรรณ
ไฟล์:อนุสรณ์ วงศ์วรรณ.jpg
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ดำรงตำแหน่ง
2 สิงหาคม พ.ศ. 2551 – 9 กันยายน พ.ศ. 2551
นายกรัฐมนตรีสมัคร สุนทรเวช
ก่อนหน้าชวรัตน์ ชาญวีรกูล
ถัดไปอุดมเดช รัตนเสถียร
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม
ดำรงตำแหน่ง
6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 – 2 สิงหาคม พ.ศ. 2551
นายกรัฐมนตรีสมัคร สุนทรเวช
ก่อนหน้าคุณหญิงไขศรี ศรีอรุณ
ถัดไปสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด7 มกราคม พ.ศ. 2495 (72 ปี)
จังหวัดแพร่
ศาสนาพุทธ
พรรคการเมืองพลังประชาชน ( ? - 2551)
คู่สมรสสมรศรี วงศ์วรรณ

อนุสรณ์ วงศ์วรรณ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในรัฐบาลของนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดลำพูน พรรคพลังประชาชน

ประวัติ

อนุสรณ์ วงศ์วรรณ เกิดมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2495 ที่จังหวัดแพร่ มีชื่อเล่นว่า ''โอน'' หรือที่นิยมเรียกกันว่า ''เสี่ยโอน'' เป็นบุตรชายคนโตของนายณรงค์ หรือพ่อเลี้ยงณรงค์ วงศ์วรรณ[1] ( บุตรพ่อเจ้าแสน วงศ์วรรณ ) สืบเชื้อสายมาจากเจ้าแสนเสมอใจเครือญาติเจ้าหลวงเทพวงศ์ลิ้นตอง เจ้าผู้ครองนครแพร่องค์ที่19 อดีตหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม และ นางอุไร หรือแม่เลี้ยงอุไร วงศ์วรรณ สำเร็จการศึกษามัธยมต้นจากโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย จ.เชียงใหม่ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จากวิทยาลัยบางแสน จ.ชลบุรี ระดับปริญญาตรีจากวิทยาลัยไวด์เนอร์ รัฐเพนซิลเวเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา และระดับปริญญาโท (ด้านวิศวกรรมอุตสาหการ) จากมหาวิทยาลัยนอร์ทแคโรไลนาสเตต ประเทศสหรัฐอเมริกา[2]

การเมือง

นายอนุสรณ์ วงศ์วรรณ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน 4 สมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี 4 กระทรวง ได้แก่ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย (รัฐบาลนายบรรหาร ศิลปอาชา) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม (รัฐบาล นายชวน หลีกภัย) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม (รัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช) และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (รัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช)

ในปี พ.ศ. 2551 นายอนุสรณ์ วงศ์วรรณ ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี เนื่องจากเป็นกรรมการบริหารพรรคพลังประชาชน[3]

ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557 เขาได้สมัครรับเลือกตั้งในระบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย ลำดับที่ 27[4]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. ประวัติผู้สมัคร ส.ส.
  2. นายอนุสรณ์ วงศ์วรรณจาก แนวหน้า
  3. เปิดชื่อ 109 กก.บริหาร “พปช.-ชาติไทย-มัชฌิมาฯ” ถูกยุบ-เพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง 5 ปี
  4. ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง รายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ (พรรคเพื่อไทย)
  5. ราชกิจจานุเบกษา ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (ชั้นสายสะพาย ในวโรกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒ จำนวน ๔,๘๙๖ ราย) เล่ม 116 ตอนที่ 20ข วันที่ 2 ธันวาคม 2542
  6. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2538/B/017V001/1_1.PDF