ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ณรัชต์ เศวตนันทน์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Goldsilver45 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Goldsilver45 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 78: บรรทัด 78:
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.ช.]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.ช.]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ จ.ภ.]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ จ.ภ.]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเหรียญจักรพรรดิมาลา]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:38, 24 มิถุนายน 2562

พันตำรวจเอก ดร. ณรัชต์ เศวตนันทน์ (16 มิถุนายน 2503 -) อธิบดีกรมราชทัณฑ์[1]อดีตอธิบดีกรมคุมประพฤติ[2]อดีตอธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ อดีตรองอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ และ อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ[3]

พลจัตวา
ณรัชต์ เศวตนันทน์
สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ
เริ่มดำรงตำแหน่ง
5 ตุลาคม พ.ศ. 2558
อธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
ดำรงตำแหน่ง
1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 – 17 กันยายน พ.ศ. 2558
อธิบดีกรมคุมประพฤติ
ดำรงตำแหน่ง
18 กันยายน พ.ศ. 2558 – 30 กันยายน พ.ศ. 2560
อธิบดีกรมราชทัณฑ์
เริ่มดำรงตำแหน่ง
1 ตุลาคม พ.ศ. 2560
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด13 มิถุนายน พ.ศ. 2503 (63 ปี)
ศาสนาพุทธ
คู่สมรสนวลพรรณ ล่ำซำ
ศิษย์เก่าโรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 20 โรงเรียนนายร้อยตำรวจ รุ่นที่ 36
รับใช้สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ประจำการพ.ศ. 2526 - 2546
รับใช้กระทรวงยุติธรรม
ประจำการพ.ศ. 2546 - ปัจจุบัน

ประวัติ

พ.ต.อ.ณรัชต์ เกิดเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2503 มีชื่อเล่นว่า เอ เป็นบุตรชายคนเดียวของพลตำรวจตรี นิทัศน์ เศวตนันทน์ และ รศ.อมรรัตน์ เศวตนันทน์[4] ปัจจุบันสมรสกับ นวลพรรณ ล่ำซำ หรือ มาดามแป้ง เมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2557

การศึกษา

  • ปริญญาโทสาขาบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยเคนทักกี
  • ปริญญาเอกสาขาอาชญาวิทยา มหาวิทยาลัยฟลอริดา สหรัฐอเมริกา [5]

หลักสูตรอื่น

การทำงาน

  • ผู้กำกับการฝ่ายตำรวจสากล กองการต่างประเทศ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ตำแหน่งสุดท้ายในการรับราชการตำรจ)

หลังจากโอนย้ายมาสังกัดกระทรวงยุติธรรม

  • ผู้บัญชาการสำนักกิจการต่างประเทศและคดีอาชญากรรมระหว่างประเทศ กรมสอบสวนคดีพิเศษ
  • ผู้บัญชาการสำนักคดีการเงินและการธนาคาร กรมสอบสวนคดีพิเศษ
  • ผู้บัญชาการสำนักคดีทรัพย์สินทางปัญญา กรมสอบสวนคดีพิเศษ
  • รองอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ
  • ผู้ตรวจราชการกระทรวงยุติธรรม[6]
  • อธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
  • อธิบดีกรมคุมประพฤติ
  • อธิบดีกรมราชทัณฑ์

ตำแหน่งอื่นๆ

  • โฆษกกรมสอบสวนคดีพิเศษ
  • โฆษกกระทรวงยุติธรรม

ตำแหน่งและหน้าที่พิเศษ

  • 5 ตุลาคม พ.ศ. 2558 - สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ [7]
  • 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 - คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านกระบวนการยุติธรรม (ตำรวจ)[8]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง