ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ท้าวกุเวร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
วาสุเทพ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
วาสุเทพ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14: บรรทัด 14:


[[ไฟล์:Royal Crematorium Exhibition of King Rama 9 of Thailand Photographed by Trisorn Triboon (12).jpg|thumb|ท้าวกุเวรหรือท้าวเวสสุวรรณในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพรัชกาลที่ 9]]
[[ไฟล์:Royal Crematorium Exhibition of King Rama 9 of Thailand Photographed by Trisorn Triboon (12).jpg|thumb|ท้าวกุเวรหรือท้าวเวสสุวรรณในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพรัชกาลที่ 9]]
'''ท้าวกุเวร'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว'', กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 316</ref> ({{lang-sa|कुबेर}} ''กุเพร'', {{lang-pi|कुवेर}} ''กุเวร'', {{lang-ta|குபேரன்}} ''กุเปรัน'') เป็นหนึ่งในสี่[[จาตุมหาราช]] ผู้ปกครองเหล่า[[ยักษ์]] รากษส กินนร [[กินรี]] เป็นชื่อของเทพแห่งความมั่งคั่ง ตามคติใน[[ศาสนาพุทธ]]และ[[ศาสนาฮินดู]] นับถือกันว่าพระองค์เป็นเทพประจำทิศอุดร [[ทิศเหนือ]] และเป็นเทพผู้คุ้มครองโลก ([[โลกบาล]])
'''ท้าวกุเวร'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว'', กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 316</ref> ({{lang-sa|कुबेर}} ''กุเพร'', {{lang-pi|कुवेर}} ''กุเวร'', {{lang-ta|குபேரன்}} ''กุเปรัน'') เป็นหนึ่งในสี่[[จาตุมหาราช]] ผู้ปกครองเหล่า[[ยักษ์]] รากษส กินนร [[กินรี]] เป็นชื่อของเทพแห่งความมั่งคั่ง ตามคติใน[[ศาสนาพุทธ]]และ[[ศาสนาฮินดู]] นับถือกันว่าพระองค์เป็นเทพประจำทิศอุดร [[ทิศเหนือ]] และเป็นเทพผู้คุ้มครองโลก ([[โลกบาล]])

พระกุเวรเมื่อเทียบกับความเชื่อทางตะวันตกแล้ว เทียบได้กับ[[พลูตอส]]ตามเทพปกรณัมกรีก


บางตำราเรียกท้าวกุเวรว่า "[[ท้าวเวสสุวรรณ]]" ({{lang-sa|वैश्रवण}} ''ไวศฺรวณ'', {{lang-pi| वेस्सवण}} ''เวสฺสวณ'') ตามนามโคตรของท้าวกุเวรในศาสนาฮินดู ส่วนในศาสนาเชนจะเรียกเทพองค์นี้ว่า ศารวนุภูติ (Sarvanubhuti)
บางตำราเรียกท้าวกุเวรว่า "[[ท้าวเวสสุวรรณ]]" ({{lang-sa|वैश्रवण}} ''ไวศฺรวณ'', {{lang-pi| वेस्सवण}} ''เวสฺสวณ'') ตามนามโคตรของท้าวกุเวรในศาสนาฮินดู ส่วนในศาสนาเชนจะเรียกเทพองค์นี้ว่า ศารวนุภูติ (Sarvanubhuti)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:29, 7 พฤษภาคม 2562

ท้าวกุเวร
เทวนาครี: कुबेर
ท้าวกุเวร ในคติอินเดีย ทรงกระบอง,ขวาน ทรงมนุษย์เป็นพาหนะ มียักษ์เป็นบริวาร
ตำแหน่งเทพผู้เป็นใหญ่เหนือยักษ์ รากษส และกินนร เทพแห่งทรัพย์สมบัติ โชคลาภ ความมั่งคั่ง
จำพวกเทพโลกบาล
วิมานเมืองอลกา บนยอดเขาคันธมาทน์ ในกุเวรโลก
อาวุธกระบองมหากาล,คทา,ดาบ,หอก,ดอกบัว,ขวาน,ธนู,ศร,หีบแก้วมณี ฯลฯ
สัตว์พาหนะม้า,มนุษย์,โค,แกะ,หมูป่า,พังพอน,ราชรถเทียมม้า,ราชรถเทียมพังพอน,ราชรถเทียมมนุษย์,บุษบกวิมาน
บิดาพระวิศราวะมุนี
มารดาพระนางอิลาวิฑา
คู่ครองพระนางภัทรา
บุตรพระนลกุวร,พระมณีภัทร,พระนางมีนากษี,คันธมาทน์ (วานรในรามายณะ)
ท้าวกุเวรหรือท้าวเวสสุวรรณในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพรัชกาลที่ 9

ท้าวกุเวร[1] (สันสกฤต: कुबेर กุเพร, บาลี: कुवेर กุเวร, ทมิฬ: குபேரன் กุเปรัน) เป็นหนึ่งในสี่จาตุมหาราช ผู้ปกครองเหล่ายักษ์ รากษส กินนร กินรี เป็นชื่อของเทพแห่งความมั่งคั่ง ตามคติในศาสนาพุทธและศาสนาฮินดู นับถือกันว่าพระองค์เป็นเทพประจำทิศอุดร ทิศเหนือ และเป็นเทพผู้คุ้มครองโลก (โลกบาล)

พระกุเวรเมื่อเทียบกับความเชื่อทางตะวันตกแล้ว เทียบได้กับพลูตอสตามเทพปกรณัมกรีก

บางตำราเรียกท้าวกุเวรว่า "ท้าวเวสสุวรรณ" (สันสกฤต: वैश्रवण ไวศฺรวณ, บาลี: वेस्सवण เวสฺสวณ) ตามนามโคตรของท้าวกุเวรในศาสนาฮินดู ส่วนในศาสนาเชนจะเรียกเทพองค์นี้ว่า ศารวนุภูติ (Sarvanubhuti)

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  • Hopkins, Edward Washburn (1915). Epic mythology. Strassburg K.J. Trübner. ISBN 0842605606. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • Sutherland, Gail Hinich (1991). The disguises of the demon: the development of the Yakṣa in Hinduism and Buddhism. SUNY Press. ISBN 0791406229. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  1. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 316