ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปานเทพ กล้าณรงค์ราญ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sodacan (คุย | ส่วนร่วม)
vector version available (GlobalReplace v0.6.5)
Sodacan (คุย | ส่วนร่วม)
vector version available (GlobalReplace v0.6.5)
บรรทัด 40: บรรทัด 40:


* [[พ.ศ. 2543]] - [[ไฟล์:King Rama IX Royal Cypher Medal (Thailand) ribbon.png|80px|border]] [[เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9]] ชั้นที่ 3<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2543/B/008/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ และเหรียญราชรุจิ]</ref>
* [[พ.ศ. 2543]] - [[ไฟล์:King Rama IX Royal Cypher Medal (Thailand) ribbon.png|80px|border]] [[เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9]] ชั้นที่ 3<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2543/B/008/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ และเหรียญราชรุจิ]</ref>
* [[ไฟล์:Order of Chula Chom Klao - 2nd Class upper (Thailand) ribbon.png|Order of Chula Chom Klao - 2nd Class upper (Thailand) ribbon]][[เครื่องราชอิสริยาภรณ์ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ]]
* [[ไฟล์:Order of Chula Chom Klao - 2nd Class upper (Thailand) ribbon.svg|Order of Chula Chom Klao - 2nd Class upper (Thailand) ribbon]][[เครื่องราชอิสริยาภรณ์ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ]]
* [[พ.ศ. 2545]] - [[ไฟล์: Order of the White Elephant - Special Class (Thailand) ribbon.svg|80px]] [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก]] ชั้น[[มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก]] (ม.ป.ช.)<ref>ราชกิจจานุเบกษา [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00117203.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (ชั้นสายสะพาย ในโอกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๔๕)] เล่ม 119 ตอนที่ 21ข วันที่ 4 ธันวาคม 2545</ref>
* [[พ.ศ. 2545]] - [[ไฟล์: Order of the White Elephant - Special Class (Thailand) ribbon.svg|80px]] [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก]] ชั้น[[มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก]] (ม.ป.ช.)<ref>ราชกิจจานุเบกษา [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00117203.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (ชั้นสายสะพาย ในโอกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๔๕)] เล่ม 119 ตอนที่ 21ข วันที่ 4 ธันวาคม 2545</ref>
* [[ไฟล์:Order of the Crown of Thailand - Special Class (Thailand) ribbon.svg|80px]] [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย]] ชั้น[[มหาวชิรมงกุฎ]] (ม.ว.ม.)
* [[ไฟล์:Order of the Crown of Thailand - Special Class (Thailand) ribbon.svg|80px]] [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย]] ชั้น[[มหาวชิรมงกุฎ]] (ม.ว.ม.)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:18, 6 พฤษภาคม 2562

ปานเทพ กล้าณรงค์ราญ
ไฟล์:ปานเทพ กล้าณรงค์ราญ.jpg
ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
ดำรงตำแหน่ง
22 กันยายน พ.ศ. 2549 – 9 ธันวาคม พ.ศ. 2558[1]
ก่อนหน้าวุฑฒิชัย ศรีรัตนวุฑฒิ
ถัดไปวัชรพล ประสารราชกิจ
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด22 พฤษภาคม พ.ศ. 2488 (78 ปี)
คู่สมรสนางอารมณ์ กล้าณรงค์ราญ

ปานเทพ กล้าณรงค์ราญ (เกิด 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2488) ประธานกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา และอดีตประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

ประวัติ

นายปานเทพ จบการศึกษาจากโรงเรียนเซนต์คาเบรียล,จบการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย จากโรงเรียนอำนวยศิลป์ พระนคร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และปริญญาโททางเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเซาท์เทิร์นแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา และได้รับการอบรมจากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 40 (วปรอ. 4010)

การทำงาน

ปานเทพ กล้าณรงค์ราญ เริ่มทำงานที่สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) จนดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการกองวางแผนและวิชาการ แล้วย้ายมารับตำแหน่งผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (กปร.) ต่อมาดำรงตำแหน่ง เลขาธิการ กปร.[2] และเป็นกรรมการและรองเหรัญญิกมูลนิธิชัยพัฒนา

ช่วงปลายปี พ.ศ. 2548 นายปานเทพ กล้าณรงค์ราญ เป็นผู้ทำบันทึกทักท้วงรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร มิให้จ่ายเงินค่าเวนคืนโครงการพระราชดำริ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ให้กับนายทุนที่ดินเป็นจำนวนเงิน 670 ล้านบาท

นายปานเทพ กล้าณรงค์ราญ ได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เป็น 1 ใน 18 ผู้ถูกเสนอชื่อให้วุฒิสภาคัดเลือกให้เหลือ 9 คน ระหว่างขั้นตอนการคัดสรร และได้รับการแต่งตั้งเป็น ประธานกรรมการ ป.ป.ช. จากประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ฉบับที่ 19 เมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2549[3]

หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 ได้รับการแต่งตั้งเป็น ประธานกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ

ในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2561 มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง กรรมการในคณะกรรมการบริหารกองทุนพระราชทาน สำหรับศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ[4]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๔๕/๒๕๕๘ เรื่อง การเลือกประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ, ราชกิจจานุเบกษา, สืบค้นวันที่ 15 ธันวาคม 2558
  2. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การแต่งตั้งข้าราชการพลเรือน (ระดับ 11 สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สำนักนายกรัฐมนตรี นายปานเทพ กล้าณรงค์ราญ (เลขาธิการ))
  3. ประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ฉบับที่ 19 เรื่อง ให้พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญบางฉบับมีผลใช้บังคับต่อไป
  4. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/E/081/1.PDF
  5. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ และเหรียญราชรุจิ
  6. ราชกิจจานุเบกษา ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (ชั้นสายสะพาย ในโอกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๔๕) เล่ม 119 ตอนที่ 21ข วันที่ 4 ธันวาคม 2545
  7. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษและเหรียญลูกเสือสดุดี ประจำปี ๒๕๕๔ - ๒๕๕๕ ชั้นที่ ๑ ชั้นที่ ๒ และชั้นที่ ๓ จำนวน ๒,๖๘๓ ราย เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๔ ข ๒๐ มกราคม ๒๕๕๘ หน้า ๒

แม่แบบ:ป.ป.ช.