ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธงฉาน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
{{ชื่ออื่น||ธงประจำ[[รัฐฉาน]]|ธงรัฐฉาน}}
{{ชื่ออื่น||ธงประจำ[[รัฐฉาน]]|ธงรัฐฉาน}}
[[ภาพ:Irish Naval jack.JPG|thumb|การชักธงฉานที่หัวเรือรบ (ในภาพเป็นธงฉานของ[[กองทัพเรือไอร์แลนด์]])]]
[[ภาพ:Irish Naval jack.JPG|thumb|การชักธงฉานที่หัวเรือรบ (ในภาพเป็นธงฉานของ[[กองทัพเรือไอร์แลนด์]])]]
'''ธงฉาน''' คือ[[ธงชาติ]]ที่บัญญัติให้ใช้เพิ่มเติมสำหรับชักที่เสาหัว[[เรือรบ]]และเรือประเภทอื่นๆ บางชนิด ปกติแล้วจะชักขึ้นในเวลาที่เรือไม่ได้ออกปฏิบัติการและเมื่อมีการตกแต่งเรือด้วยธงต่างๆ ในวาระพิเศษ<ref>[http://fotw.net/flags/vxt-dv-j.html พจนานุกรมวิชา Vexillology หมวดอักษร J]</ref> ในบางประเทศจะใช้ธงนี้สำหรับหมายยศนายทหารชั้นนายพลเรือด้วย เช่น ธงหมายยศจอมพลเรือของสหราชอาณาจักรใช้ธงฉานของ[[กองทัพเรือสหราชอาณาจักร]] (ธงเดียวกันกับ[[ธงยูเนี่ยนแจ็ค]] ซึ่งใช้เป็นธงชาติด้วย แต่กำหนดสัดส่วนของธงไว้ที่ 1:2)<ref>[http://www.crwflags.com/fotw/flags/gb%5Enrank.html#adm ธงหมายยศของราชนาวีอังกฤษ จากเว็บไซต์ Flags of the World]</ref> เป็นต้น นอกจากนี้ยังอาจใช้ในหน้าที่อื่นๆ ตามที่ระบุไว้ในกฎหมายโดยเฉพาะ เช่น ใน[[กองทัพเรือไทย]] ธงฉานจะใช้เป็นธงใช้เป็นธงหมายเรือพระที่นั่ง และเรือหลวง และเป็น[[ธงประจำกองทหาร]]สำหรับหน่วยทหารเรือที่ยกพลขึ้นบก ซึ่งหน่วยทหารนั้นไม่ได้รับพระราชทาน[[ธงชัยเฉลิมพล]]<ref>[http://www.search-thais.com/law/flag.htm พระราชบัญญัติธง พ.ศ. 2522 มาตรา 19]</ref>
'''ธงฉาน''' คือ[[ธงชาติ]]ที่บัญญัติให้ใช้เพิ่มเติมสำหรับชักที่เสาหัว[[เรือรบ]]และเรือประเภทอื่นๆ บางชนิด ปกติแล้วจะชักขึ้นในเวลาที่เรือไม่ได้ออกปฏิบัติการและเมื่อมีการตกแต่งเรือด้วยธงต่างๆ ในวาระพิเศษ<ref>[http://fotw.net/flags/vxt-dv-j.html พจนานุกรมวิชา Vexillology หมวดอักษร J]</ref> ในบางประเทศจะใช้ธงนี้สำหรับหมายยศนายทหารชั้นนายพลเรือด้วย เช่น ธงหมายยศจอมพลเรือของสหราชอาณาจักรใช้ธงฉานของ[[กองทัพเรือสหราชอาณาจักร]] (ธงเดียวกันกับ[[ธงยูเนี่ยนแจ็ค]] ซึ่งใช้เป็นธงชาติด้วย แต่กำหนดสัดส่วนของธงไว้ที่ 1:2)<ref>[http://www.crwflags.com/fotw/flags/gb%5Enrank.html#adm ธงหมายยศของราชนาวีอังกฤษ จากเว็บไซต์ Flags of the World]</ref> เป็นต้น นอกจากนี้ยังอาจใช้ในหน้าที่อื่นๆ ตามที่ระบุไว้ในกฎหมายโดยเฉพาะ เช่น ใน[[กองทัพเรือไทย]] ธงฉานจะใช้เป็นธงหมายเรือพระที่นั่ง และเรือหลวง และเป็น[[ธงประจำกองทหาร]]สำหรับหน่วยทหารเรือที่ยกพลขึ้นบก ซึ่งหน่วยทหารนั้นไม่ได้รับพระราชทาน[[ธงชัยเฉลิมพล]]<ref>[http://www.search-thais.com/law/flag.htm พระราชบัญญัติธง พ.ศ. 2522 มาตรา 19]</ref>


ในภาษาไทยโบราณ คำว่าธงฉานหมายถึง ธงนํากระบวนกลองชนะ มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยม ความหมายในปัจจุบันหมายเอาถึงธงฉานของกองทัพเรือ ตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติธง พ.ศ. 2522<ref>[http://rirs3.royin.go.th/word22/word-22-a1.asp พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมวดอักษร ธ]</ref>
ในภาษาไทยโบราณ คำว่าธงฉานหมายถึง ธงนํากระบวนกลองชนะ มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยม ความหมายในปัจจุบันหมายเอาถึงธงฉานของกองทัพเรือ ตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติธง พ.ศ. 2522<ref>[http://rirs3.royin.go.th/word22/word-22-a1.asp พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมวดอักษร ธ]</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:10, 20 พฤศจิกายน 2550

การชักธงฉานที่หัวเรือรบ (ในภาพเป็นธงฉานของกองทัพเรือไอร์แลนด์)

ธงฉาน คือธงชาติที่บัญญัติให้ใช้เพิ่มเติมสำหรับชักที่เสาหัวเรือรบและเรือประเภทอื่นๆ บางชนิด ปกติแล้วจะชักขึ้นในเวลาที่เรือไม่ได้ออกปฏิบัติการและเมื่อมีการตกแต่งเรือด้วยธงต่างๆ ในวาระพิเศษ[1] ในบางประเทศจะใช้ธงนี้สำหรับหมายยศนายทหารชั้นนายพลเรือด้วย เช่น ธงหมายยศจอมพลเรือของสหราชอาณาจักรใช้ธงฉานของกองทัพเรือสหราชอาณาจักร (ธงเดียวกันกับธงยูเนี่ยนแจ็ค ซึ่งใช้เป็นธงชาติด้วย แต่กำหนดสัดส่วนของธงไว้ที่ 1:2)[2] เป็นต้น นอกจากนี้ยังอาจใช้ในหน้าที่อื่นๆ ตามที่ระบุไว้ในกฎหมายโดยเฉพาะ เช่น ในกองทัพเรือไทย ธงฉานจะใช้เป็นธงหมายเรือพระที่นั่ง และเรือหลวง และเป็นธงประจำกองทหารสำหรับหน่วยทหารเรือที่ยกพลขึ้นบก ซึ่งหน่วยทหารนั้นไม่ได้รับพระราชทานธงชัยเฉลิมพล[3]

ในภาษาไทยโบราณ คำว่าธงฉานหมายถึง ธงนํากระบวนกลองชนะ มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยม ความหมายในปัจจุบันหมายเอาถึงธงฉานของกองทัพเรือ ตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติธง พ.ศ. 2522[4]

ตัวอย่างธงฉานของประเทศต่างๆ

อ้างอิง

  1. พจนานุกรมวิชา Vexillology หมวดอักษร J
  2. ธงหมายยศของราชนาวีอังกฤษ จากเว็บไซต์ Flags of the World
  3. พระราชบัญญัติธง พ.ศ. 2522 มาตรา 19
  4. พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมวดอักษร ธ

ดูเพิ่ม