ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สโมสรฟุตบอลบาเลนเซีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
เอสปาญา→เอสปัญญา
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
บียาร์เรอัล→บิยาร์เรอัล
บรรทัด 29: บรรทัด 29:
'''สโมสรฟุตบอลบาเลนเซีย''' ({{lang-es|Valencia Club de Fútbol}}) รู้จักกันในชื่อ '''บาเลนเซีย''' หรือ '''ไอ้ค้างคาว''' เป็น[[สโมสรฟุตบอล]]อาชีพของ[[ประเทศสเปน]]ที่มีชื่อเสียง ตั้งอยู่ที่เมือง[[บาเลนเซีย]] เล่นใน[[ลาลีกา]] และเป็นหนึ่งในสโมสรที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในวงการฟุตบอลสเปน บาเลนเซียสามารถคว้าแชมป์ลีกมาครองได้ 6 สมัย [[โกปาเดลเรย์]] 6 สมัย [[ยูฟ่าคัพ]] 3 สมัย [[ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ]] 1 สมัย [[ยูฟ่าซุปเปอร์คัพ]] 2 สมัย และเข้าชิงชนะเลิศ[[ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก]] 2 ครั้งในปี [[ค.ศ. 2000]] และ [[ค.ศ. 2001]] แต่กลับพ่ายให้กับคู่ปรับในศึกลาลีกาอย่าง[[เรอัลมาดริด]]ในปี ค.ศ. 2000 และยักษ์ใหญ่[[เยอรมนี]]อย่าง[[บาเยิร์นมิวนิก]]ในปี ต.ศ. 2001 นอกจากนั้น บาเลนเซียยังเป็นสมาชิกของกลุ่ม[[จี-14]] อันเป็นกลุ่มของสโมสรชั้นนำของยุโรปอีกด้วย
'''สโมสรฟุตบอลบาเลนเซีย''' ({{lang-es|Valencia Club de Fútbol}}) รู้จักกันในชื่อ '''บาเลนเซีย''' หรือ '''ไอ้ค้างคาว''' เป็น[[สโมสรฟุตบอล]]อาชีพของ[[ประเทศสเปน]]ที่มีชื่อเสียง ตั้งอยู่ที่เมือง[[บาเลนเซีย]] เล่นใน[[ลาลีกา]] และเป็นหนึ่งในสโมสรที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในวงการฟุตบอลสเปน บาเลนเซียสามารถคว้าแชมป์ลีกมาครองได้ 6 สมัย [[โกปาเดลเรย์]] 6 สมัย [[ยูฟ่าคัพ]] 3 สมัย [[ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ]] 1 สมัย [[ยูฟ่าซุปเปอร์คัพ]] 2 สมัย และเข้าชิงชนะเลิศ[[ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก]] 2 ครั้งในปี [[ค.ศ. 2000]] และ [[ค.ศ. 2001]] แต่กลับพ่ายให้กับคู่ปรับในศึกลาลีกาอย่าง[[เรอัลมาดริด]]ในปี ค.ศ. 2000 และยักษ์ใหญ่[[เยอรมนี]]อย่าง[[บาเยิร์นมิวนิก]]ในปี ต.ศ. 2001 นอกจากนั้น บาเลนเซียยังเป็นสมาชิกของกลุ่ม[[จี-14]] อันเป็นกลุ่มของสโมสรชั้นนำของยุโรปอีกด้วย


บาเลนเซียก่อตั้งขึ้นเมื่อปี [[ค.ศ. 1919]] ได้ลงเล่นในบ้านครั้งแรกที่สนาม[[เมสตายา|เอสตาดีโอเมสตายา]]ที่มีความจุถึง 53,311 ที่นั่งตั้งแต่ปี ค.ศ. 1923 และมีแผนการจะย้ายสนามไปยัง[[นอวเมสตายา]]ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองในอนาคต โดยสนามแห่งใหม่นี้มีความจุถึง 75,000 ที่นั่ง บาเลนเซียเป็นคู่ปรับ[[สโมสรฟุตบอลเลบันเต]]ซึ่งตั้งอยู่ที่เมือง[[บาเลนเซีย]]เช่นเดียวกัน นอกจากนั้นก็ยังเป็นคู่ปรับกับ[[สโมสรฟุตบอลบียาร์เรอัล]]ซึ่งตั้งอยู่ในเขตบาเลนเซียเช่นเดียวกันอีกด้วย
บาเลนเซียก่อตั้งขึ้นเมื่อปี [[ค.ศ. 1919]] ได้ลงเล่นในบ้านครั้งแรกที่สนาม[[เมสตายา|เอสตาดีโอเมสตายา]]ที่มีความจุถึง 53,311 ที่นั่งตั้งแต่ปี ค.ศ. 1923 และมีแผนการจะย้ายสนามไปยัง[[นอวเมสตายา]]ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองในอนาคต โดยสนามแห่งใหม่นี้มีความจุถึง 75,000 ที่นั่ง บาเลนเซียเป็นคู่ปรับ[[สโมสรฟุตบอลเลบันเต]]ซึ่งตั้งอยู่ที่เมือง[[บาเลนเซีย]]เช่นเดียวกัน นอกจากนั้นก็ยังเป็นคู่ปรับกับ[[สโมสรฟุตบอลบิยาร์เรอัล]]ซึ่งตั้งอยู่ในเขตบาเลนเซียเช่นเดียวกันอีกด้วย


บาเลนเซียเป็นสโมสรที่ได้รับความนิยมเป็นอันดับ 3 ในสเปน ตามหลังเพียง[[สโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริด|เรอัลมาดริด]]และ[[สโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนา|บาร์เซโลนา]]เท่านั้น<ref>http://www.cis.es/cis/export/sites/default/-Archivos/Marginales/2700_2719/2705/Es2705mar_A.pdf</ref>
บาเลนเซียเป็นสโมสรที่ได้รับความนิยมเป็นอันดับ 3 ในสเปน ตามหลังเพียง[[สโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริด|เรอัลมาดริด]]และ[[สโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนา|บาร์เซโลนา]]เท่านั้น<ref>http://www.cis.es/cis/export/sites/default/-Archivos/Marginales/2700_2719/2705/Es2705mar_A.pdf</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:32, 4 พฤษภาคม 2562

บาเลนเซีย
ชื่อเต็มสโมสรฟุตบอลบาเลนเซีย
ฉายาไอ้ค้างคาว (Murciélagos)
โลสเช (Los Che)
ก่อตั้ง18 มีนาคม ค.ศ. 1919
สนามเมสตายา
บาเลนเซีย
Ground ความจุ55,000 ที่นั่ง
ประธานสเปน อามาเดโอ ซัลโบ
ผู้จัดการสเปน ปาโก อาเยสตาราน
ลีกลาลีกา
2014–15ลาลีกา, ที่ 4
เว็บไซต์เว็บไซต์สโมสร
สีชุดทีมเยือน
ฤดูกาลปัจจุบัน

สโมสรฟุตบอลบาเลนเซีย (สเปน: Valencia Club de Fútbol) รู้จักกันในชื่อ บาเลนเซีย หรือ ไอ้ค้างคาว เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพของประเทศสเปนที่มีชื่อเสียง ตั้งอยู่ที่เมืองบาเลนเซีย เล่นในลาลีกา และเป็นหนึ่งในสโมสรที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในวงการฟุตบอลสเปน บาเลนเซียสามารถคว้าแชมป์ลีกมาครองได้ 6 สมัย โกปาเดลเรย์ 6 สมัย ยูฟ่าคัพ 3 สมัย ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ 1 สมัย ยูฟ่าซุปเปอร์คัพ 2 สมัย และเข้าชิงชนะเลิศยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก 2 ครั้งในปี ค.ศ. 2000 และ ค.ศ. 2001 แต่กลับพ่ายให้กับคู่ปรับในศึกลาลีกาอย่างเรอัลมาดริดในปี ค.ศ. 2000 และยักษ์ใหญ่เยอรมนีอย่างบาเยิร์นมิวนิกในปี ต.ศ. 2001 นอกจากนั้น บาเลนเซียยังเป็นสมาชิกของกลุ่มจี-14 อันเป็นกลุ่มของสโมสรชั้นนำของยุโรปอีกด้วย

บาเลนเซียก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1919 ได้ลงเล่นในบ้านครั้งแรกที่สนามเอสตาดีโอเมสตายาที่มีความจุถึง 53,311 ที่นั่งตั้งแต่ปี ค.ศ. 1923 และมีแผนการจะย้ายสนามไปยังนอวเมสตายาทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองในอนาคต โดยสนามแห่งใหม่นี้มีความจุถึง 75,000 ที่นั่ง บาเลนเซียเป็นคู่ปรับสโมสรฟุตบอลเลบันเตซึ่งตั้งอยู่ที่เมืองบาเลนเซียเช่นเดียวกัน นอกจากนั้นก็ยังเป็นคู่ปรับกับสโมสรฟุตบอลบิยาร์เรอัลซึ่งตั้งอยู่ในเขตบาเลนเซียเช่นเดียวกันอีกด้วย

บาเลนเซียเป็นสโมสรที่ได้รับความนิยมเป็นอันดับ 3 ในสเปน ตามหลังเพียงเรอัลมาดริดและบาร์เซโลนาเท่านั้น[1]

ประวัติของสโมสร

สโมสรฟุตบอลบาเลนเซียก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 มีนาคม ค.ศ. 1919 และได้รับการอนุมัติอย่างเป็นทางการเมื่อ 18 มีนาคม ค.ศ. 1919 โดยมี Octavio Augusto Milego Díaz เป็นประธานของสโมสรคนแรก สโมสรที่เล่นเกมการแข่งขันอย่างเป็นทางการครั้งแรกออกไปเยือนเมื่อ 21 พฤษภาคม ค.ศ. 1919 โดยนัดแรกชนะ คิมนัสตีโก ไป 1-0

บาเลนเซีย ย้ายเข้ามาอยู่ในสนามกีฬาเมสตายาในปี 1923 หลังจากเล่นแมตช์เหย้าสนามอัลคีโรสตั้งแต่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1919 นัดแรกที่เมสตายา เจอกับกัสเตยอนกัสตาเลีย โดยผลเสมอไป 0-0 ในการแข่งขันวันหลังจากที่อื่นบาเลนเซียชนะฝ่ายค้านเดียวกัน 1-0 วาเลนเซียได้รับรางวัลชนะเลิศระดับภูมิภาคในปี 1923 และเป็นสิทธิ์ที่จะเล่นในประเทศ โกปาเดลเรย์ การแข่งขันถ้วยเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์

ยักษ์ใหญ่แห่งสโมสรฟุตบอลในสเปน

หลังสงครามกลางเมืองหยุดความคืบหน้าของทีมบาเลนเซียจนถึงปี 1941 ได้ควาแชมป์ โกปาเดลเรย์ ในฤดูกาล 1941-42, สโมสรได้รับรางวัลก่อนภาษาสเปนที่ชื่อลาลีกาชิงแชมป์แม้จะชนะ โกปาเดลเรย์ ได้มากขึ้นกว่าที่มีชื่อเสียงระดับแชมป์ในเวลานั้น และสโมสรยังคว้าแชมป์ ลาลีกา ติดต่อกัน 3 ครั้ง ในช่วงปี 1940 ในฤดูกาล 1941-42 , 1943-44 และ 1946-47 ในปี 1950, สโมสรล้มเหลวในการเลียนแบบความสำเร็จของปี 1940 แม้ว่าจะขยายตัวเป็นชมรม การปรับโครงสร้างของ เมสตายา ผลในการเพิ่มขีดความสามารถในการที่มีผู้ชมถึง 45,000 ในขณะที่สโมสรมีจำนวนนักฟุตบอลสเปนและต่างชาติมากขึ้น ผู้เล่นในระดับสเปนและระดับนานาชาติ อาทิเช่น อันโตนิโอ พูชาร์เดซ และนักฟุตบอลชาว เนเธอร์แลนด์ วิลเคส ฟาส เกียรติสนามที่ เมสตายา ในฤดูกาล 1952-53 สโมสรได้รองแชมป์ ลาลีกา และต่อมาในฤดูกาล 1953-54 สโมสรได้คว้าแชมป์ โกปาเดลเรย์ อีกครั้ง ด้วยการชนะ สโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนา ไป 3-0 ซึ่งเป็นยุคของ คาซินโต ควินคอเนซ โค้ชชาวสเปน ในการนำทีมบาเลนเซียคว้าแชมป์ โกปาเดลเรย์ 2 สมัย และ ซูเปร์โกปาเดเอสปัญญา 1 สมัย

ความสำเร็จกับถ้วยยุโรป

รูปแบบการเล่นของบาเลนเซียยังคงอยู่ในชุดเดิมที่คว้าแชมป์ โกปาเดลเรย์ 2 สมัย โดยในปี 1962 หรือในฤดูกาล 1961-62 บาเลนเซียได้คว้าแชมป์ อินเตอร์-ซิตีส์แฟส์คัป ซึ่งเป็นถ้วยระดับยุโรปแรกที่สโมสรคว้าแชมป์ได้ ด้วยการชนะ สโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาสโมสรฟุตบอลจาก สเปน ไป 7-3 และคว้าแชมป์นี้ต่อกันอีกในฤดูกาล 1962-63 ด้วยการชนะ สโมสรฟุตบอลไดนาโม ซาเกรป จาก โครเอเชีย ไป 4-1

หลังจากนั้นนักฟุตบอลของยุโรปที่ได้รับรางวัลชนะเลิศแห่งปี อัลฟรีโด ดิ สตีฟาโน ถูกจ้างเป็นโค้ชในปี 1970 และเป็นแรงบันดาลใจทันทีสโมสรใหม่ของเขาเพื่อที่สี่ของพวกเขา ลาลีกาชิงแชมป์ บาเลนเซียที่มีความปลอดภัยนี้มีคุณสมบัติเป็นครั้งแรกในถ้วยยุโรปสำหรับประกวดโดยแชมป์ในประเทศต่างๆในยุโรป บาเลนเซียถึงรอบที่สามของการแข่งขัน 1971-72 ก่อนที่จะไปแพ้ สโมสฟุตบอลจาก ฮังการี ที่ผู้เล่นที่โดดเด่นที่สุดของยุค 1970 และในฤดูกาล 1978-79 บาเลนเซียคว้าแชมป์ โกปาเดลเรย์ เป็นสมัยที่ 5 ของสโมสร

การกลับมาของไอ้ค้างคาวพร้อมกับความสำเร็จครั้งใหม่ของสโมสร

และหลังจากยุคปี 2000 บาเลนเซียยังเป็นทีมระดับหัวแถวของฟุตบอลสเปน โดยได้มีคู่แข่ง 2 สโมสรคือ สโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริด และ สโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนา ที่ยังเป็นเจ้าของแชมป์ ลาลีกา และ ถ้วยยุโรปต่างๆ มากที่สุดในลีกประเทศสเปน แล้วในปี ค.ศ. 2001 ทางสโมสรบาเลนเซียได้ ให้ ราฟาเอล เบนีเตซ ผู้จัดการทีมชาวสเปน ได้เข้ามารับตำแหน่งผู้จัดการทีม แทน เฮคเตอร์ คูเปอร์ เบนีเตซนำทีมสโมสรฟุตบอลบาเลนเซีย คว้าแชมป์ ลาลีกา ได้ในฤดูกาล 2001-02 ด้วยการมีและซื้อนักฟุตบอลตัวเก่งหลายคนอาทิ ปาโบล ไอมาร์, ซานติอาโก คานิซาเรส, จอห์น คาเรล, อาเมดีโอ คาโบนิ และต่อมาในฤดูกาล 2003-04 ราฟาเอล เบนีเตซนำทีมคว้าแชมป์ได้ถึง 2 สมัย คือ ลาลีกา และ ยูฟ่าคัพ โดยในฤดูกาลนี้เบนีเตซนำลูกทีมฝ่าฝันอุปสรรคต่างๆในการเจอทีมใหญ่ๆใน ยูฟ่าคัพ ทั้ง บอดิอูกซ์ , บียาเรอัล สโมสรเพื่อนบ้านของตน , นิวคาสเซิล ยูไนเต็ด สโมสรฟุตบอลจากพรีเมียร์ลีก อังกฤษ และเข้าไปชิงกับ ออแล็งปิกเดอมาร์แซย์ สโมสรฟุตบอลชื่อดังของ ฝรั่งเศส โดยบาเลนเซียชนะไป 2-0 ซึ่งเป็นความสำเร็จครั้งใหญ่ของสโมสร

สนามเหย้า

บรรยากาศในสนามเมสตายา

บาเลนเซียลงเล่นในปีแรกที่อัลคีโรสสเตเดียม แต่ได้ย้ายไปที่เอสตาดีโอเมสตายาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1923 ในช่วงทศวรรษ 1950 นั้น มีการปรับปรุงเมสตายาขึ้นอีกครั้ง โดยเพิ่มจำนวนที่นั่งเป็น 45,000 ที่นั่ง ทุกวันนี้สามารถจุผู้ชมได้ประมาณ 53,000 คน อย่างไรก็ตาม บาเลนเซียมีกำหนดว่าจะย้ายไปยังสนามแห่งใหม่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองบาเลนเซียในอนาคต โดยนอวเมสตายาอันเป็นชื่อของสนามแห่งนี้จะจุผู้ชมได้ประมาณ 75,000 คน และจะได้รับการจัดอันดับจากฟีฟ่าให้เป็นสนามระดับ 5 ดาว

ชุดกับสปอนเซอร์

ฤดูกาล ชุดที่ใช้ สปอนเซอร์ที่สนับสนุน
1980–1982 Adidas None
1982–1985 Ressy
1985–1990 Rasan Caja Ahorros Valencia
1990–1992 Puma
1992–1993 Mediterrania
1993–1994 Luanvi
1994–1995 Cip
1995–1998 Ford
1998–2000 Terra Mítica
2000–2001 Nike
2001–2002 Metrored
2002–2003 Terra Mítica
2003–2008 Toyota
2008–2009 Valencia Experience
2009–2011 Kappa Unibet
2011–2013 Joma Jinko Solar

ผู้เล่นชุดปัจจุบัน

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
1 GK สเปน เคาเม โดเมเนช
3 DF โปรตุเกส รูเบง เวซู
4 DF โคลอมเบีย เยย์ซอน มูรีโย (ยืมตัวมาจาก อินเตอร์มิลาน)
5 DF บราซิล กาบรีเอล
6 MF เซอร์เบีย เนมันยา มักซีมอวิช
7 MF โปรตุเกส กงชาโล กูเอดึส (ยืมตัวมาจาก ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง)
8 FW อาร์เจนตินา ลูเซียโน เบียโต (ยืมตัวมาจาก อัตเลตีโกมาดริด)
9 FW อิตาลี ซีโมเน ซาซา
10 MF สเปน ดาเนียล ปาเรโค (กัปตันทีม)
11 MF บราซิล อังเดรอัส เปเรย์รา (ยืมตัวมาจาก แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด)
13 GK บราซิล เนโต
14 DF สเปน โคเซ ลุยส์ กายา
เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
15 DF สเปน โตนี ลาโต
16 MF ฝรั่งเศส เจฟฟรีย์ กงด็อกเบีย (ยืมตัวมาจาก อินเตอร์มิลาน)
17 MF ฝรั่งเศส ฟร็องซิส กอเกอแล็ง
18 MF สเปน การ์โลส โซเลร์
19 FW สเปน โรดรีโก
21 DF สเปน มาร์ติน มอนโตยา
22 FW สเปน ซานตี มีนา
24 DF อาร์เจนตินา เอเซเกียล กาไรย์
29 DF สเปน คาเบียร์ คีเมเนซ
30 DF สเปน นาโช บีดัล
33 FW สเปน เฟร์รัน ตอร์เรส

ผู้เล่นที่ถูกยืมตัว

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น

เกียรติประวัติ

สเปน ระดับประเทศ

ยุโรป ระดับทวีปยุโรป

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น