ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อหิงสาในศาสนาเชน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Jain.gif|thumb|150px|สัญลักษณ์ฝ่ามือและธรรมจักร สัญลักษณ์ของอหิงสาในศาสนาเชน]]
[[ไฟล์:Jain.gif|thumb|150px|สัญลักษณ์ฝ่ามือและธรรมจักร สัญลักษณ์ของอหิงสาในศาสนาเชน]]


ใน[[ศาสนาเชน]] '''อหิงสา''' ({{lang-sa|अहिंसा}}<ref name="Johansson2012">{{cite book|author=Rune E. A. Johansson|title=Pali Buddhist Texts: An Introductory Reader and Grammar|url=https://books.google.com/books?id=CXBmlQvw7PwC&pg=PT143 |date=6 December 2012|publisher=Routledge|isbn=978-1-136-11106-8|page=143}}</ref>) เป็นหลักการหลักสำคัญพื้นฐานของศาสนา คำว่า "[[อหิงสา]]" แปลว่า "การไม่รุนแรง" (nonviolence) การไม่ทำร้าย และปราศจากความคิดที่จะทำร้ายสิ่งมีชีวิตอื่นใด การปฏิบัติต่าง ๆ ในศาสนาเชน โดยเฉพาะการทาน[[มังสวิรัติ]] ล้วนแล้วแต่มาจากหลักพื้นฐานของอหิงสาทั้งนั้น หลักอหิงสาในศาสนาเชนต่างจากในปรัชญาอินเดียอื่น ๆ มาก ความรุนแรง (หิงสา violence) ในศาสนาเชนไม่ได้หมายถึงแค่การทำร้ายผู้อื่น แต่หมายถึงการทำร้ายตนเองด้วย อันทำให้ออกห่างจากการเข้าถึง[[โมกศะ (ศาสนาเชน)|โมกศะ]] (การหลุดพ้นจากสังสารวัฒ).<ref name="Jaini 1998 167">{{harvnb|Jaini|1998|p=167}}</ref> นอกจากนี้ยังต้องถือหลักอหิงสาต่อสิ่งมีชีวิตทั้งปวง ไม่เพียงแต่มนุษย์ สัตว์ แต่รวมถึงพืช ต้นไม้ จุลินทรีย์ แบคทีเรีย สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กกว่าตาเปล่ามองเห็น และสิ่งที่มีความเป็นไปได้ว่าจะมีชีวิต ทุกชีวิตล้วนได้รับการเคารพและล้วนมีสิทธิ์ที่จะได้ดำรงชีวิตอยู่โดยปราศจากความกลัว สิ่งมีชีวิตทั้งปวงจะไม่ต้องกลัวผู้ที่ถือหลักอหิงสา การปกป้องชีวิตอื่นนั้นเรียกว่า "อภัยธานัม" (abhayadānam) ถือเป็นการทำบุญที่สูงสุดที่มนุษย์คนหนึ่งจะกระทำได้<ref name="Varni, Jinendra 1993">{{harvnb|Varni|1993|p=335}} "Giving protection always to living beings who are in fear of death is known as abhayadana"</ref>
ใน[[ศาสนาเชน]] '''อหิงสา''' ({{lang-sa|अहिंसा}}<ref name="Johansson2012">{{cite book|author=Rune E. A. Johansson|title=Pali Buddhist Texts: An Introductory Reader and Grammar|url=https://books.google.com/books?id=CXBmlQvw7PwC&pg=PT143 |date=6 December 2012|publisher=Routledge|isbn=978-1-136-11106-8|page=143}}</ref>) เป็นหลักการหลักสำคัญพื้นฐานของศาสนา คำว่า "[[อหิงสา]]" แปลว่า "การไม่รุนแรง" (nonviolence) การไม่ทำร้าย และปราศจากความคิดที่จะทำร้ายสิ่งมีชีวิตอื่นใด การปฏิบัติต่าง ๆ ในศาสนาเชน โดยเฉพาะการทาน[[มังสวิรัติ]] ล้วนแล้วแต่มาจากหลักพื้นฐานของอหิงสาทั้งนั้น หลักอหิงสาในศาสนาเชนต่างจากในปรัชญาอินเดียอื่น ๆ มาก ความรุนแรง (หิงสา violence) ในศาสนาเชนไม่ได้หมายถึงแค่การทำร้ายผู้อื่น แต่หมายถึงการทำร้ายตนเองด้วย อันทำให้ออกห่างจากการเข้าถึง[[โมกษะ (ศาสนาเชน)|โมกษะ]] (การหลุดพ้นจากสังสารวัฒ).<ref name="Jaini 1998 167">{{harvnb|Jaini|1998|p=167}}</ref> นอกจากนี้ยังต้องถือหลักอหิงสาต่อสิ่งมีชีวิตทั้งปวง ไม่เพียงแต่มนุษย์ สัตว์ แต่รวมถึงพืช ต้นไม้ จุลินทรีย์ แบคทีเรีย สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กกว่าตาเปล่ามองเห็น และสิ่งที่มีความเป็นไปได้ว่าจะมีชีวิต ทุกชีวิตล้วนได้รับการเคารพและล้วนมีสิทธิ์ที่จะได้ดำรงชีวิตอยู่โดยปราศจากความกลัว สิ่งมีชีวิตทั้งปวงจะไม่ต้องกลัวผู้ที่ถือหลักอหิงสา การปกป้องชีวิตอื่นนั้นเรียกว่า "อภัยธานัม" (abhayadānam) ถือเป็นการทำบุญที่สูงสุดที่มนุษย์คนหนึ่งจะกระทำได้<ref name="Varni, Jinendra 1993">{{harvnb|Varni|1993|p=335}} "Giving protection always to living beings who are in fear of death is known as abhayadana"</ref>


อหิงสา นอกจากจะหมายถึงการไม่รุนแรงในเชิงกายภาพและการกระทำแล้ว ยังหมายถึงความคิดที่ปราศจากความอยากที่จะสร้างความรุนแรงใด ๆ ด้วย<ref name="ReferenceA">{{harvnb|Varni|1993|p=154}} "Even an intention of killing is the cause of the bondage of Karma, whether you actually kill or not; from the real point of view, this is the nature of the bondage of Karma."</ref> ดังนั้นศาสนาเชนจึงยึดหลักการทานมังสวิรัติมาเป็นเวลาช้านานแล้ว<ref name="Dundas 2002">{{harvnb|Dundas|2002}}</ref>
อหิงสา นอกจากจะหมายถึงการไม่รุนแรงในเชิงกายภาพและการกระทำแล้ว ยังหมายถึงความคิดที่ปราศจากความอยากที่จะสร้างความรุนแรงใด ๆ ด้วย<ref name="ReferenceA">{{harvnb|Varni|1993|p=154}} "Even an intention of killing is the cause of the bondage of Karma, whether you actually kill or not; from the real point of view, this is the nature of the bondage of Karma."</ref> ดังนั้นศาสนาเชนจึงยึดหลักการทานมังสวิรัติมาเป็นเวลาช้านานแล้ว<ref name="Dundas 2002">{{harvnb|Dundas|2002}}</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:12, 1 พฤษภาคม 2562

สัญลักษณ์ฝ่ามือและธรรมจักร สัญลักษณ์ของอหิงสาในศาสนาเชน

ในศาสนาเชน อหิงสา (สันสกฤต: अहिंसा[1]) เป็นหลักการหลักสำคัญพื้นฐานของศาสนา คำว่า "อหิงสา" แปลว่า "การไม่รุนแรง" (nonviolence) การไม่ทำร้าย และปราศจากความคิดที่จะทำร้ายสิ่งมีชีวิตอื่นใด การปฏิบัติต่าง ๆ ในศาสนาเชน โดยเฉพาะการทานมังสวิรัติ ล้วนแล้วแต่มาจากหลักพื้นฐานของอหิงสาทั้งนั้น หลักอหิงสาในศาสนาเชนต่างจากในปรัชญาอินเดียอื่น ๆ มาก ความรุนแรง (หิงสา violence) ในศาสนาเชนไม่ได้หมายถึงแค่การทำร้ายผู้อื่น แต่หมายถึงการทำร้ายตนเองด้วย อันทำให้ออกห่างจากการเข้าถึงโมกษะ (การหลุดพ้นจากสังสารวัฒ).[2] นอกจากนี้ยังต้องถือหลักอหิงสาต่อสิ่งมีชีวิตทั้งปวง ไม่เพียงแต่มนุษย์ สัตว์ แต่รวมถึงพืช ต้นไม้ จุลินทรีย์ แบคทีเรีย สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กกว่าตาเปล่ามองเห็น และสิ่งที่มีความเป็นไปได้ว่าจะมีชีวิต ทุกชีวิตล้วนได้รับการเคารพและล้วนมีสิทธิ์ที่จะได้ดำรงชีวิตอยู่โดยปราศจากความกลัว สิ่งมีชีวิตทั้งปวงจะไม่ต้องกลัวผู้ที่ถือหลักอหิงสา การปกป้องชีวิตอื่นนั้นเรียกว่า "อภัยธานัม" (abhayadānam) ถือเป็นการทำบุญที่สูงสุดที่มนุษย์คนหนึ่งจะกระทำได้[3]

อหิงสา นอกจากจะหมายถึงการไม่รุนแรงในเชิงกายภาพและการกระทำแล้ว ยังหมายถึงความคิดที่ปราศจากความอยากที่จะสร้างความรุนแรงใด ๆ ด้วย[4] ดังนั้นศาสนาเชนจึงยึดหลักการทานมังสวิรัติมาเป็นเวลาช้านานแล้ว[5]

อ้างอิง

  1. Rune E. A. Johansson (6 December 2012). Pali Buddhist Texts: An Introductory Reader and Grammar. Routledge. p. 143. ISBN 978-1-136-11106-8.
  2. Jaini 1998, p. 167
  3. Varni 1993, p. 335 "Giving protection always to living beings who are in fear of death is known as abhayadana"
  4. Varni 1993, p. 154 "Even an intention of killing is the cause of the bondage of Karma, whether you actually kill or not; from the real point of view, this is the nature of the bondage of Karma."
  5. Dundas 2002