ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
อรุโณไทย (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{กล่องข้อมูล อำเภอ
{{กล่องข้อมูล อำเภอ
| name = บ้านใหม่ไชยพจน์
| name = บ้านใหม่ไชยพจน์
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
| image_map = Amphoe 3119.svg
| image_map = Amphoe 3119.svg
}}
}}
'''บ้านใหม่ไชยพจน์''' [–ไช-ยะ-พด] เป็นอำเภอหนึ่งของ[[จังหวัดบุรีรัมย์]] ห่างจากตัวจังหวัดบุรีรัมย์ ประมาณ 95 กิโลเมตร ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ และประกอบอาชีพเกษตรเกษตรกรเป็นหลัก แยกตัวออกจาก[[อำเภอพุทไธสง]]เมื่อปี พ.ศ. 2536 มีชื่อเสียงในเรื่องการทอผ้าไหมมัดหมี่ และมีงานประจำปีที่จัดขึ้นอย่างยิ่งใหญ่เป็นประจำทุกปี คือ "ประเพณีปรางค์กู่สวนแตง และบุญบั้งไฟบ้านใหมไชยพจน์"
'''บ้านใหม่ไชยพจน์''' [–ไช-ยะ-พด] เป็นอำเภอหนึ่งของ[[จังหวัดบุรีรัมย์]] ห่างจากตัวจังหวัดบุรีรัมย์ประมาณ 95 กิโลเมตร ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ และประกอบอาชีพเกษตรกรเป็นหลัก แยกตัวออกจาก[[อำเภอพุทไธสง]]เมื่อ พ.ศ. 2536 มีชื่อเสียงในเรื่องการทอผ้าไหมมัดหมี่ และมีงานประจำปีที่จัดขึ้นอย่างยิ่งใหญ่เป็นประจำทุกปี คือ ประเพณีปรางค์กู่สวนแตง และบุญบั้งไฟบ้านใหมไชยพจน์


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
บริเวณหลักกิโลเมตรที่ 0 เป็นจุดตัดของ[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 202]] สายชัยภูมิ–เขมราฐ และ[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 207]] สายบ้านวัด–เมืองพล(ปัจจุบันคือทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2440) เป็นทางผ่านไปยังเมืองสำคัญหลายเมือง มีลักษณะเป็นป่าทึบ จึงเป็นที่ซ่องสุ่มของโจรผู้ร้าย ต่อมาในปี พ.ศ. 2497 นายไชยพจน์ ภู่กำชัย นาย[[อำเภอพุทไธสง]]ในขณะนั้น มีแนวความคิดว่า "บริเวณหลักกิโลเมตรที่ 0 จะไม่ให้ทำเป็นเพิงพักชั่วคราว ควรจะทำเป็นอาคารพักถาวรให้เป็นหมู่บ้าน..." จึงขอตั้งหมู่บ้านในบริเวณดังกล่าวโดยใช้ชื่อว่า บ้าน กม.ศูนย์ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2499 และได้รับอนุมัติเมื่อวันที่ 19 มีนาคม [[พ.ศ. 2500]] นายไชยพจน์เป็นผู้วางผัง[[หมู่บ้าน]]และเปิดให้จับจองที่ดิน
เดิมพื้นที่อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์มีลักษณะเป็นป่าทึบ จึงเป็นที่ซ่องสุ่มของโจรผู้ร้าย ต่อมาใน พ.ศ. 2497 ไชยพจน์ ภู่กำชัย นาย[[อำเภอพุทไธสง]]ในขณะนั้น มีแนวความคิดขอตั้งหมู่บ้านในบริเวณดังกล่าวโดยใช้ชื่อว่า บ้าน กม.ศูนย์ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2499 และได้รับอนุมัติเมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2500 โดยไชยพจน์เป็นผู้วางผังหมู่บ้านและเปิดให้จับจองที่ดิน


ต่อมามีการปรับปรุงถนน ขยายช่องทางการจราจร ทำให้การคมนาคมสะดวกขึ้น ประกอบกับท้องที่ของอำเภอพุทไธสงในขณะนั้น มีอาณาเขตกว้างขวาง ประชาชนบางส่วนอยู่ห่างไกลจากตัวอำเภอ เจ้าหน้าที่ออกตรวจตราดูแลความทุกข์สุขไม่ทั่วถึง ในปี พ.ศ. 2521 ชาวบ้าน กม.ศูนย์ และประชาชนประมาณ 10,000 คนของทั้ง 5 ตำบล จึงเสนอขอแบ่งท้องที่อำเภอพุทไธสงตั้งเป็นกิ่งอำเภอ ชื่อว่า '''กิ่งอำเภอกู่สวนแตง''' แต่ไม่ได้รับการอนุมัติจากกระทรวงมหาดไทย
ต่อมามีการปรับปรุงถนน ขยายช่องทางการจราจร ทำให้การคมนาคมสะดวกขึ้น ประกอบกับท้องที่ของอำเภอพุทไธสงในขณะนั้น มีอาณาเขตกว้างขวาง ประชาชนบางส่วนอยู่ห่างไกลจากตัวอำเภอ เจ้าหน้าที่ออกตรวจตราดูแลความทุกข์สุขไม่ทั่วถึง ทำให้ใน พ.ศ. 2521 ชาวบ้าน กม.ศูนย์ และประชาชนประมาณ 10,000 คนของทั้ง 5 ตำบล จึงเสนอขอแบ่งท้องที่อำเภอพุทไธสงตั้งเป็นกิ่งอำเภอ ชื่อว่า '''กิ่งอำเภอกู่สวนแตง''' แต่ไม่ได้รับการอนุมัติจาก[[กระทรวงมหาดไทย]]


ต่อมาเมื่อชุมชนบ้าน กม.ศูนย์ ขยายใหญ่ขึ้น คณะกรรมการหมู่บ้านสภาตำบลหนองแวงจึงได้เสนอขอจัดตั้งกิ่งอำเภอใหม่อีกครั้งในนาม '''กิ่งอำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์''' เพื่อเป็นเกียรติแก่นายไชยพจน์ผู้เสนอจัดตั้งหมู่บ้าน กม.ศูนย์ และได้รับการอนุมัติจัดตั้งจากกระทรวงมหาดไทยเมื่อปี พ.ศ. 2535 โดยรวมตำบลทองหลาง หนองแวง กู่สวนแตง แดงใหญ่ และหนองเยือง รวม 46 หมู่บ้าน ประชากร 23,970 คน ตั้งกิ่งอำเภอ ณ บ้าน กม.ศูนย์ ตำบลหนองแวง และได้ยกฐานะเป็น '''อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์''' เมื่อปี พ.ศ. 2540
ต่อมาเมื่อชุมชนบ้าน กม.ศูนย์ ขยายใหญ่ขึ้น คณะกรรมการหมู่บ้านสภาตำบลหนองแวงจึงได้เสนอขอจัดตั้งกิ่งอำเภอใหม่อีกครั้งในนาม '''กิ่งอำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์''' เพื่อเป็นเกียรติแก่ไชยพจน์ ผู้เสนอจัดตั้งหมู่บ้าน กม.ศูนย์ และกิ่งอำเภอนี้ได้รับการอนุมัติจัดตั้งจากกระทรวงมหาดไทยเมื่อ พ.ศ. 2535 โดยรวมตำบลทองหลาง หนองแวง [[ตำบลกู่สวนแตง|กู่สวนแตง]] แดงใหญ่ และหนองเยือง รวม 46 หมู่บ้าน ประชากร 23,970 คน ตั้งกิ่งอำเภอ ณ บ้าน กม.ศูนย์ ตำบลหนองแวง และได้ยกฐานะเป็น '''อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์''' เมื่อ พ.ศ. 2540


== ภูมิศาสตร์ ==
== ภูมิศาสตร์ ==
บรรทัด 34: บรรทัด 34:
* '''ทิศตะวันตก''' ติดต่อกับ[[อำเภอประทาย]] (จังหวัดนครราชสีมา)
* '''ทิศตะวันตก''' ติดต่อกับ[[อำเภอประทาย]] (จังหวัดนครราชสีมา)


=== ลักษณะภูมิประเทศ ===
=== ภูมิประเทศและภูมิอากาศ ===
อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ มีเนื้อที่ประมาณ 175.0 [[ตารางกิโลเมตร]] ทางตอนเหนือของอำเภอมีลักษณะเป็นที่ราบสลับกับทุ่งกว้าง ประกอบกับดินเหนียว ดินทราย ส่วนทางตอนใต้มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มลำสะแทด
อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ มีเนื้อที่ประมาณ 175 ตารางกิโลเมตร ทางตอนเหนือของอำเภอมีลักษณะเป็นที่ราบสลับกับทุ่งกว้าง ประกอบกับดินเหนียว ดินทราย ส่วนทางตอนใต้มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มลำสะแทด


=== ลักษณะภูมิอากาศ ===
อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ มีสภาพอากาศแบ่งออกเป็น 3 ฤดู ดังนี้
อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ มีสภาพอากาศแบ่งออกเป็น 3 ฤดู ดังนี้
* [[ฤดูร้อน]] : ปลายเดือน[[กุมภาพันธ์]] ถึง [[พฤษภาคม]]
* [[ฤดูร้อน]] : ปลายเดือนกุมภาพันธ์ ถึงพฤษภาคม
* [[ฤดูฝน]] : เดือนพฤษภาคม ถึง [[ตุลาคม]]
* [[ฤดูฝน]] : เดือนพฤษภาคม ถึงตุลาคม
* [[ฤดูหนาว]] : เดือน[[พฤศจิกายน]] ถึง กุมภาพันธ์
* [[ฤดูหนาว]] : เดือนพฤศจิกายน ถึงกุมภาพันธ์


=== แหล่งน้ำธรรมชาติ ===
=== ทรัพยากรธรรมชาติ ===
อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์มีแหล่งน้ำที่สำคัญดังนี้
*'''ห้วยแอก''' อยู่ทางด้านทิศตะวันตกของอำเภอ ต้นน้ำอยู่ที่ [[อำเภอพล]] [[จังหวัดขอนแก่น]] เป็นลำห้วยขนาดใหญ่
และไหลลงลำสะแทด ที่ บ้านส้มป่อย-ไทรทอง ตำบลหนองเยือง เป็นแนวแบ่งเขตแดน กับ [[อำเภอประทาย]] [[จังหวัดนครราชสีมา]]
* '''ห้วยแอก''' อยู่ทางด้านทิศตะวันตกของอำเภอ ต้นน้ำอยู่ที่[[อำเภอพล]] [[จังหวัดขอนแก่น]] เป็นลำห้วยขนาดใหญ่ และไหลลงลำสะแทดที่บ้านส้มป่อย-ไทรทอง ตำบลหนองเยือง เป็นแนวแบ่งเขตแดนกับ[[อำเภอประทาย]] [[จังหวัดนครราชสีมา]]
*'''ลำสะแทด''' อยู่ทางด้านทิศใต้ ต้นน้ำอยู่ในเขต[[อำเภอโนนสูง]] [[จังหวัดนครราชสีมา]] เป็นลำน้ำขนาดใหญ่ ไหลลงแม่น้ำมูล ที่[[อำเภอพุทไธสง]] เป็นแนวแบ่งเขตแดน กับ [[อำเภอเมืองยาง]] จังหวัดนครราชสีมา
* '''ลำสะแทด''' อยู่ทางด้านทิศใต้ ต้นน้ำอยู่ในเขต[[อำเภอโนนสูง]] [[จังหวัดนครราชสีมา]] เป็นลำน้ำขนาดใหญ่ ไหลลงแม่น้ำมูลที่[[อำเภอพุทไธสง]] เป็นแนวแบ่งเขตแดนกับ [[อำเภอเมืองยาง]] จังหวัดนครราชสีมา
*'''ห้วยตะกั่ว''' เป็นลำน้ำขนาดเล็ก ต้นน้ำ อยู่ทางด้านทิศเหนือ ของ[[อำเภอหนองสองห้อง]] จังหวัดขอนแก่น
* '''ห้วยตะกั่ว''' เป็นลำน้ำขนาดเล็ก ต้นน้ำอยู่ทางด้านทิศเหนือของ[[อำเภอหนองสองห้อง]] จังหวัดขอนแก่น ไหลผ่านตำบลแดงใหญ่ ตำบลหนองแวง ตำบลกู่สวนแตง และไหลลงลำสะแทดที่[[ตำบลกู่สวนแตง]]
ไหลผ่าน ตำบลแดงใหญ่ ตำบลหนองแวง ตำบลกู่สวนแตง และไหลลงลำสะแทดที่ ตำบลกู่สวนแตง
*'''หนองน้ำสาธารณะ''' จำนวน 40 แห่ง


อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์มีพื้นที่ป่าไม้ที่สำคัญดังนี้
=== ป่าไม้ ===
* สวนป่าสิริกิตติ์ หมู่ที่ 2 ตำบลทองหลาง มีเนื้อที่ 119 ไร่
* สวนป่าสิริกิตติ์ หมู่ที่ 2 ตำบลทองหลาง มีเนื้อที่ 119 ไร่
* ป่าสงวนแห่งชาติหนองข่า หมู่ที่ 5 และ 6 ตำบลแดงใหญ่ มีเนื้อที่ประมาณ 2,470 ไร่

* ป่าสงวนแห่งชาติหนองข่า หมู่ที่ 5 หมู่ที่ 6 ตำบลแดงใหญ่ มีเนื้อที่ ประมาณ 2,470 ไร่

* ป่าช้าสาธารณะ มีเนื้อที่ประมาณ 3,239 ไร่


== การแบ่งเขตการปกครอง ==
== การแบ่งเขตการปกครอง ==
บรรทัด 81: บรรทัด 75:
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลกู่สวนแตง''' ครอบคลุมพื้นที่[[ตำบลกู่สวนแตง]]ทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลกู่สวนแตง''' ครอบคลุมพื้นที่[[ตำบลกู่สวนแตง]]ทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลแดงใหญ่''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลแดงใหญ่ทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลแดงใหญ่''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลแดงใหญ่ทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลหนองเยือง''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหนองเยืองทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลหนองเยือง''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหนองเยืองทั้งตำบล

== การศึกษา ==
;โรงเรียนระดับประถมศึกษา (สพฐ.)
มีทั้งหมด 21 โรงเรียน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้
{{col-begin}}
{{col-2}}
* กลุ่มโรงเรียนบ้านใหม่ไชยพจน์ 1
** โรงเรียนอนุบาลบ้านใหม่ไชยพจน์ (ฉลาดราษฎร์บำรุง)
** โรงเรียนบ้านหนองไผ่เบญจมิตร
** โรงเรียนวัดสุคันธารมย์
** โรงเรียนบ้าน กม.ศูนย์
** โรงเรียนวัดอิสาณ
** โรงเรียนวัดวนาสันต์
** โรงเรียนวัดศรีสุนทร
** โรงเรียนจุฬางกูรวิทยา
** โรงเรียนวัดหลักศิลา
** โรงเรียนวัดไพรงาม
{{col-2}}
* กลุ่มโรงเรียนบ้านใหม่ไชยพจน์ 2
** โรงเรียนบ้านทองหลาง
** โรงเรียนวัดชายอรัญ
** โรงเรียนวัดพลสุวรรณ
** โรงเรียนวัดสระจันทร์
** โรงเรียนวัดเทพประดิษฐ์
** โรงเรียนวัดเทพรังษี
** โรงเรียนบ้านหนองเรือ
** โรงเรียนวัดสมณาวาส
** โรงเรียนบ้านโนนไฮ
** โรงเรียนบ้านหนองสองห้อง (เทพผาประชานุกูล)
{{col-end}}

;โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา (สพม.)
* [[โรงเรียนกู่สวนแตงพิทยาคม]]


== สถานที่สำคัญ ==
== สถานที่สำคัญ ==
* '''ปรางค์กู่สวนแตง'''
;ปรางค์กู่สวนแตง
เป็นเทวาลัยใน[[ศาสนาฮินดู]] สร้างขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ 16-17 โดยได้รับอิทธิพลจากศิลปกรรมสมัยนครวัดเป็น[[โบราณสถาน]]อีกแห่งที่ถูกวางระเบิดจนองค์ปรางค์พังทลายลงมาเพื่อโจรกรรม ชิ้นส่วนปราสาทไปขาย ภายหลัง[[กรมศิลปากร]]ได้บูรณะใหม่จนมีความสมบูรณ์ และประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานเมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2547
เป็นเทวาลัยใน[[ศาสนาฮินดู]] สร้างขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ 16-17 โดยได้รับอิทธิพลจากศิลปกรรมสมัยนครวัดเป็น[[โบราณสถาน]]อีกแห่งที่ถูกวางระเบิดจนองค์ปรางค์พังทลายลงมาเพื่อโจรกรรม ชิ้นส่วนปราสาทไปขาย ภายหลัง[[กรมศิลปากร]]ได้บูรณะใหม่จนมีความสมบูรณ์ และประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานเมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2547


ลักษณะของกู่ประกอบด้วย ปรางค์อิฐ 3 องค์ ตั้งเรียงกันในแนวเหนือ-ใต้ บนฐานศิลาแลงเดียวกัน อาคารทั้งหมดหันหน้าไปทางทิศตะวันออก มีประตูหน้าเพียงประตูเดียว อีก 3 ด้าน สลักเป็นประตูหลอก ปรางค์องค์กลางมีขนาดใหญ่และมีสภาพค่อนข้างสมบูรณ์เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ด้านหน้าทั้ง 3 ด้าน มีลักษณะยื่นออกมาและมีแผ่นศิลาทรายรองรับ ส่วนปรางค์อีกสององค์มีขนาดเล็กกว่าฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีประตูเดียวทางด้านหน้า เช่นกัน ส่วนผนังอีก 3 ด้าน ก่อเรียบทึบ สำหรับบนพื้นหน้าปรางค์มีส่วนประกอบสถาปัตยกรรมหินทรายอื่นๆ ตกหล่นอยู่ เช่น ฐานบัว ยอดปรางค์ กลีบขนุน รูปนาค 6 เศียร อายุของกู่สวนแตงสามารถกำหนดได้จากทับหลังของปรางค์ ซึ่งปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ที่ [[พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร]]อยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ 17 เนื่องจากภาพสลักบนทับหลังทั้งหมดมีลักษณะตรงกับศิลปะขอมแบบนครวัด ที่มีอายุอยู่ในช่วงเวลาดังกล่าว อาทิเช่น ทับหลังสลักภาพพระนารายณ์ตรีวิกรม (ตอนหนึ่งในวามนาวตารแสดงภาพพระนารายณ์ย่างพระบาท 3 ก้าว เหยียบโลกบาดาล โลกมนุษย์ และโลกสวรรค์) ทับหลังภาพศิวนาฎราช ทับหลังภาพการกวนเกษียรสมุทร ทับหลังภาพนารายณ์บรรทมสินธุ์ ฯลฯ แต่ละชิ้นมีขนาดใหญ่สวยงามน่าสนใจยิ่ง
ลักษณะของกู่ประกอบด้วย ปรางค์อิฐ 3 องค์ ตั้งเรียงกันในแนวเหนือ-ใต้ บนฐานศิลาแลงเดียวกัน อาคารทั้งหมดหันหน้าไปทางทิศตะวันออก มีประตูหน้าเพียงประตูเดียว อีก 3 ด้าน สลักเป็นประตูหลอก ปรางค์องค์กลางมีขนาดใหญ่และมีสภาพค่อนข้างสมบูรณ์เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ด้านหน้าทั้ง 3 ด้าน มีลักษณะยื่นออกมาและมีแผ่นศิลาทรายรองรับ ส่วนปรางค์อีกสององค์มีขนาดเล็กกว่าฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีประตูเดียวทางด้านหน้า เช่นกัน ส่วนผนังอีก 3 ด้าน ก่อเรียบทึบ สำหรับบนพื้นหน้าปรางค์มีส่วนประกอบสถาปัตยกรรมหินทรายอื่นๆ ตกหล่นอยู่ เช่น ฐานบัว ยอดปรางค์ กลีบขนุน รูปนาค 6 เศียร อายุของกู่สวนแตงสามารถกำหนดได้จากทับหลังของปรางค์ ซึ่งปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ที่ [[พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร]]อยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ 17 เนื่องจากภาพสลักบนทับหลังทั้งหมดมีลักษณะตรงกับศิลปะขอมแบบนครวัด ที่มีอายุอยู่ในช่วงเวลาดังกล่าว อาทิเช่น ทับหลังสลักภาพพระนารายณ์ตรีวิกรม (ตอนหนึ่งในวามนาวตารแสดงภาพพระนารายณ์ย่างพระบาท 3 ก้าว เหยียบโลกบาดาล โลกมนุษย์ และโลกสวรรค์) ทับหลังภาพศิวนาฎราช ทับหลังภาพการกวนเกษียรสมุทร ทับหลังภาพนารายณ์บรรทมสินธุ์ ฯลฯ แต่ละชิ้นมีขนาดใหญ่สวยงามน่าสนใจยิ่ง


* '''ปรางค์กู่ฤๅษี'''
;ปรางค์กู่ฤๅษี
เป็นลักษณะปรางค์กู่หินศิลาแลงวางเรียงซ้อนกัน และวงเป็นกำแพงล้อมตัวกู่ ภายในมีพระพุทธองค์ใหญ่ และรูปปั้นฤๅษี ประดิษฐานอยู่ภายในบริเวณ บริเวณศิลาแลงด้านในมีต้นจำปีปลูกล้อมรอบ 7 ต้น ด้วยกัน และบริเวณรอบนอกศิลาแลง ด้านทิศเหนือมีสระน้ำบึงขนาดเล็กอยู่ด้านข้าง ด้านชาวบ้านในบริเวณนั้น บอกว่าสร้างมานานแล้ว แต่ในอดีตมี พระภิกษุมาจำวัดที่นี้ แต่ปัจจุบันไม่มีแล้ว โดยสถานแห่งนี้เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์และนับถือของชาวบ้านใน ละแวกนี้
เป็นลักษณะปรางค์กู่หินศิลาแลงวางเรียงซ้อนกัน และวงเป็นกำแพงล้อมตัวกู่ ภายในมีพระพุทธองค์ใหญ่ และรูปปั้นฤๅษี ประดิษฐานอยู่ภายในบริเวณ บริเวณศิลาแลงด้านในมีต้นจำปีปลูกล้อมรอบ 7 ต้น ด้วยกัน และบริเวณรอบนอกศิลาแลง ด้านทิศเหนือมีสระน้ำบึงขนาดเล็กอยู่ด้านข้าง ด้านชาวบ้านในบริเวณนั้น บอกว่าสร้างมานานแล้ว แต่ในอดีตมี พระภิกษุมาจำวัดที่นี้ แต่ปัจจุบันไม่มีแล้ว โดยสถานแห่งนี้เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์และนับถือของชาวบ้านใน ละแวกนี้


== วัฒนธรรม ==
== เทศกาลสำคัญ ==
*'''ประเพณีปรางค์กู่สวนแตงและบุญบั้งไฟบ้านใหม่ไชยพจน์''' บริเวณโบราณสถาน[[ปรางกู่สวนแตง]] (ข้าง[[โรงเรียนกู่สวนแตงพิทยาคม]]) ประมาณกลางเดือน[[พฤษภาคม]]ของทุกปี
อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์มีเทศกาลและงานประเพณีที่สำคัญดังนี้
*'''ประเพณีปรางค์กู่สวนแตงและบุญบั้งไฟบ้านใหม่ไชยพจน์''' บริเวณโบราณสถาน[[ปรางกู่สวนแตง]] (ข้าง[[โรงเรียนกู่สวนแตงพิทยาคม]]) ประมาณกลางเดือนพฤษภาคมของทุกปี
*'''ประเพณีบุญฉลองปรางค์กู่ฤๅษี '''บริเวณโบราณสถาน[[ปรางค์กู่ฤๅษี]] ตำบลหนองเยือง ประมาณกลางเดือน[[มีนาคม]]ของทุกปี
*'''ประเพณีบุญฉลองปรางค์กู่ฤๅษี ''' บริเวณโบราณสถาน[[ปรางค์กู่ฤๅษี]] ตำบลหนองเยือง ประมาณกลางเดือนมีนาคมของทุกปี
*'''งานกาชาดอำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์และงานฉลองเจ้าพ่อ กม.ศูนย์''' บริเวณสนามหน้าที่ว่าการอำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ ประมาณต้นเดือน[[ธันวาคม]]ของทุกปี
*'''งานกาชาดอำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์และงานฉลองเจ้าพ่อ กม.ศูนย์''' บริเวณสนามหน้าที่ว่าการอำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ ประมาณต้นเดือนธันวาคมของทุกปี

== การศึกษา ==

=== โรงเรียนระดับประถมศึกษา (สพฐ.) ===
มีทั้งหมด 21 โรงเรียน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้
==== กลุ่มโรงเรียนบ้านใหม่ไชยพจน์ 1 ====
*โรงเรียนอนุบาลบ้านใหม่ไชยพจน์ (ฉลาดราษฎร์บำรุง)
*โรงเรียนบ้านหนองไผ่เบญจมิตร
*โรงเรียนวัดสุคันธารมย์
*โรงเรียนบ้าน กม.ศูนย์
*โรงเรียนวัดอิสาณ
*โรงเรียนวัดวนาสันต์
*โรงเรียนวัดศรีสุนทร
*โรงเรียนจุฬางกูรวิทยา
*โรงเรียนวัดหลักศิลา
*โรงเรียนวัดไพรงาม

==== กลุ่มโรงเรียนบ้านใหม่ไชยพจน์ 2 ====

*โรงเรียนบ้านทองหลาง
*โรงเรียนวัดชายอรัญ
*โรงเรียนวัดพลสุวรรณ
*โรงเรียนวัดสระจันทร์
*โรงเรียนวัดเทพประดิษฐ์
*โรงเรียนวัดเทพรังษี
*โรงเรียนบ้านหนองเรือ
*โรงเรียนวัดสมณาวาส
*โรงเรียนบ้านโนนไฮ
*โรงเรียนบ้านหนองสองห้อง (เทพผาประชานุกูล)

=== โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา (สพม.) ===
* [[โรงเรียนกู่สวนแตงพิทยาคม]]


== ธนาคาร ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* [[ธนาคารออมสิน]] สาขาบ้านใหม่ไชยพจน์
* ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์เพื่อการเกษตร สาขาบ้านใหม่ไชยพจน์


{{อำเภอจังหวัดบุรีรัมย์}}
{{อำเภอจังหวัดบุรีรัมย์}}
[[หมวดหมู่:อำเภอในจังหวัดบุรีรัมย์|บ้านใหม่ไชยพจน์]]
[[หมวดหมู่:อำเภอในจังหวัดบุรีรัมย์|บ้านใหม่ไชยพจน์]]
{{โครงจังหวัด}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:47, 30 เมษายน 2562

อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันAmphoe Ban Mai Chaiyaphot
คำขวัญ: 
กู่สวนแตงเด่นสง่า ล้ำค่ากูฤๅษี
ผ้าไหมมัดหมี่ ประเพณีบุญบั้งไฟ
แผนที่จังหวัดบุรีรัมย์ เน้นอำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์
แผนที่จังหวัดบุรีรัมย์ เน้นอำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์
พิกัด: 15°34′22″N 102°50′0″E / 15.57278°N 102.83333°E / 15.57278; 102.83333
ประเทศ ไทย
จังหวัดบุรีรัมย์
พื้นที่
 • ทั้งหมด175.0 ตร.กม. (67.6 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2561)
 • ทั้งหมด26,971 คน
 • ความหนาแน่น154.12 คน/ตร.กม. (399.2 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์ 31120
รหัสภูมิศาสตร์3119
ที่ตั้งที่ว่าการที่ว่าการอำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์
หมู่ที่ 1 บ้านใหม่ไชยพจน์ ถนนเจนจบทิศ ตำบลหนองแวง อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ จังหวัดบุรีรัมย์ 31120
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

บ้านใหม่ไชยพจน์ [–ไช-ยะ-พด] เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดบุรีรัมย์ ห่างจากตัวจังหวัดบุรีรัมย์ประมาณ 95 กิโลเมตร ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ และประกอบอาชีพเกษตรกรเป็นหลัก แยกตัวออกจากอำเภอพุทไธสงเมื่อ พ.ศ. 2536 มีชื่อเสียงในเรื่องการทอผ้าไหมมัดหมี่ และมีงานประจำปีที่จัดขึ้นอย่างยิ่งใหญ่เป็นประจำทุกปี คือ ประเพณีปรางค์กู่สวนแตง และบุญบั้งไฟบ้านใหมไชยพจน์

ประวัติ

เดิมพื้นที่อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์มีลักษณะเป็นป่าทึบ จึงเป็นที่ซ่องสุ่มของโจรผู้ร้าย ต่อมาใน พ.ศ. 2497 ไชยพจน์ ภู่กำชัย นายอำเภอพุทไธสงในขณะนั้น มีแนวความคิดขอตั้งหมู่บ้านในบริเวณดังกล่าวโดยใช้ชื่อว่า บ้าน กม.ศูนย์ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2499 และได้รับอนุมัติเมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2500 โดยไชยพจน์เป็นผู้วางผังหมู่บ้านและเปิดให้จับจองที่ดิน

ต่อมามีการปรับปรุงถนน ขยายช่องทางการจราจร ทำให้การคมนาคมสะดวกขึ้น ประกอบกับท้องที่ของอำเภอพุทไธสงในขณะนั้น มีอาณาเขตกว้างขวาง ประชาชนบางส่วนอยู่ห่างไกลจากตัวอำเภอ เจ้าหน้าที่ออกตรวจตราดูแลความทุกข์สุขไม่ทั่วถึง ทำให้ใน พ.ศ. 2521 ชาวบ้าน กม.ศูนย์ และประชาชนประมาณ 10,000 คนของทั้ง 5 ตำบล จึงเสนอขอแบ่งท้องที่อำเภอพุทไธสงตั้งเป็นกิ่งอำเภอ ชื่อว่า กิ่งอำเภอกู่สวนแตง แต่ไม่ได้รับการอนุมัติจากกระทรวงมหาดไทย

ต่อมาเมื่อชุมชนบ้าน กม.ศูนย์ ขยายใหญ่ขึ้น คณะกรรมการหมู่บ้านสภาตำบลหนองแวงจึงได้เสนอขอจัดตั้งกิ่งอำเภอใหม่อีกครั้งในนาม กิ่งอำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ เพื่อเป็นเกียรติแก่ไชยพจน์ ผู้เสนอจัดตั้งหมู่บ้าน กม.ศูนย์ และกิ่งอำเภอนี้ได้รับการอนุมัติจัดตั้งจากกระทรวงมหาดไทยเมื่อ พ.ศ. 2535 โดยรวมตำบลทองหลาง หนองแวง กู่สวนแตง แดงใหญ่ และหนองเยือง รวม 46 หมู่บ้าน ประชากร 23,970 คน ตั้งกิ่งอำเภอ ณ บ้าน กม.ศูนย์ ตำบลหนองแวง และได้ยกฐานะเป็น อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ เมื่อ พ.ศ. 2540

ภูมิศาสตร์

ที่ตั้งและอาณาเขต

อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้

ภูมิประเทศและภูมิอากาศ

อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ มีเนื้อที่ประมาณ 175 ตารางกิโลเมตร ทางตอนเหนือของอำเภอมีลักษณะเป็นที่ราบสลับกับทุ่งกว้าง ประกอบกับดินเหนียว ดินทราย ส่วนทางตอนใต้มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มลำสะแทด

อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ มีสภาพอากาศแบ่งออกเป็น 3 ฤดู ดังนี้

  • ฤดูร้อน : ปลายเดือนกุมภาพันธ์ ถึงพฤษภาคม
  • ฤดูฝน : เดือนพฤษภาคม ถึงตุลาคม
  • ฤดูหนาว : เดือนพฤศจิกายน ถึงกุมภาพันธ์

ทรัพยากรธรรมชาติ

อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์มีแหล่งน้ำที่สำคัญดังนี้

อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์มีพื้นที่ป่าไม้ที่สำคัญดังนี้

  • สวนป่าสิริกิตติ์ หมู่ที่ 2 ตำบลทองหลาง มีเนื้อที่ 119 ไร่
  • ป่าสงวนแห่งชาติหนองข่า หมู่ที่ 5 และ 6 ตำบลแดงใหญ่ มีเนื้อที่ประมาณ 2,470 ไร่

การแบ่งเขตการปกครอง

การปกครองส่วนภูมิภาค

อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์แบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 5 ตำบล 55 หมู่บ้าน

1. หนองแวง (Nong Waeng) 15 หมู่บ้าน
2. ทองหลาง (Thonglang) 10 หมู่บ้าน
3. แดงใหญ่ (Daeng Yai) 9 หมู่บ้าน
4. กู่สวนแตง (Ku Suan Taeng) 12 หมู่บ้าน
5. หนองเยือง (Nong Yueang) 9 หมู่บ้าน

การปกครองส่วนท้องถิ่น

ท้องที่อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 6 แห่ง ได้แก่

  • เทศบาลตำบลบ้านใหม่ไชยพจน์ ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลทองหลางและบางส่วนของตำบลหนองแวง
  • องค์การบริหารส่วนตำบลทองหลาง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลทองหลาง (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลบ้านใหม่ไชยพจน์)
  • องค์การบริหารส่วนตำบลหนองแวง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหนองแวง (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลบ้านใหม่ไชยพจน์)
  • องค์การบริหารส่วนตำบลกู่สวนแตง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลกู่สวนแตงทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลแดงใหญ่ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลแดงใหญ่ทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลหนองเยือง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหนองเยืองทั้งตำบล

การศึกษา

โรงเรียนระดับประถมศึกษา (สพฐ.)

มีทั้งหมด 21 โรงเรียน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้

โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา (สพม.)

สถานที่สำคัญ

ปรางค์กู่สวนแตง

เป็นเทวาลัยในศาสนาฮินดู สร้างขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ 16-17 โดยได้รับอิทธิพลจากศิลปกรรมสมัยนครวัดเป็นโบราณสถานอีกแห่งที่ถูกวางระเบิดจนองค์ปรางค์พังทลายลงมาเพื่อโจรกรรม ชิ้นส่วนปราสาทไปขาย ภายหลังกรมศิลปากรได้บูรณะใหม่จนมีความสมบูรณ์ และประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานเมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2547

ลักษณะของกู่ประกอบด้วย ปรางค์อิฐ 3 องค์ ตั้งเรียงกันในแนวเหนือ-ใต้ บนฐานศิลาแลงเดียวกัน อาคารทั้งหมดหันหน้าไปทางทิศตะวันออก มีประตูหน้าเพียงประตูเดียว อีก 3 ด้าน สลักเป็นประตูหลอก ปรางค์องค์กลางมีขนาดใหญ่และมีสภาพค่อนข้างสมบูรณ์เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ด้านหน้าทั้ง 3 ด้าน มีลักษณะยื่นออกมาและมีแผ่นศิลาทรายรองรับ ส่วนปรางค์อีกสององค์มีขนาดเล็กกว่าฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีประตูเดียวทางด้านหน้า เช่นกัน ส่วนผนังอีก 3 ด้าน ก่อเรียบทึบ สำหรับบนพื้นหน้าปรางค์มีส่วนประกอบสถาปัตยกรรมหินทรายอื่นๆ ตกหล่นอยู่ เช่น ฐานบัว ยอดปรางค์ กลีบขนุน รูปนาค 6 เศียร อายุของกู่สวนแตงสามารถกำหนดได้จากทับหลังของปรางค์ ซึ่งปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครอยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ 17 เนื่องจากภาพสลักบนทับหลังทั้งหมดมีลักษณะตรงกับศิลปะขอมแบบนครวัด ที่มีอายุอยู่ในช่วงเวลาดังกล่าว อาทิเช่น ทับหลังสลักภาพพระนารายณ์ตรีวิกรม (ตอนหนึ่งในวามนาวตารแสดงภาพพระนารายณ์ย่างพระบาท 3 ก้าว เหยียบโลกบาดาล โลกมนุษย์ และโลกสวรรค์) ทับหลังภาพศิวนาฎราช ทับหลังภาพการกวนเกษียรสมุทร ทับหลังภาพนารายณ์บรรทมสินธุ์ ฯลฯ แต่ละชิ้นมีขนาดใหญ่สวยงามน่าสนใจยิ่ง

ปรางค์กู่ฤๅษี

เป็นลักษณะปรางค์กู่หินศิลาแลงวางเรียงซ้อนกัน และวงเป็นกำแพงล้อมตัวกู่ ภายในมีพระพุทธองค์ใหญ่ และรูปปั้นฤๅษี ประดิษฐานอยู่ภายในบริเวณ บริเวณศิลาแลงด้านในมีต้นจำปีปลูกล้อมรอบ 7 ต้น ด้วยกัน และบริเวณรอบนอกศิลาแลง ด้านทิศเหนือมีสระน้ำบึงขนาดเล็กอยู่ด้านข้าง ด้านชาวบ้านในบริเวณนั้น บอกว่าสร้างมานานแล้ว แต่ในอดีตมี พระภิกษุมาจำวัดที่นี้ แต่ปัจจุบันไม่มีแล้ว โดยสถานแห่งนี้เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์และนับถือของชาวบ้านใน ละแวกนี้

วัฒนธรรม

อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์มีเทศกาลและงานประเพณีที่สำคัญดังนี้

  • ประเพณีปรางค์กู่สวนแตงและบุญบั้งไฟบ้านใหม่ไชยพจน์ บริเวณโบราณสถานปรางกู่สวนแตง (ข้างโรงเรียนกู่สวนแตงพิทยาคม) ประมาณกลางเดือนพฤษภาคมของทุกปี
  • ประเพณีบุญฉลองปรางค์กู่ฤๅษี บริเวณโบราณสถานปรางค์กู่ฤๅษี ตำบลหนองเยือง ประมาณกลางเดือนมีนาคมของทุกปี
  • งานกาชาดอำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์และงานฉลองเจ้าพ่อ กม.ศูนย์ บริเวณสนามหน้าที่ว่าการอำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ ประมาณต้นเดือนธันวาคมของทุกปี

อ้างอิง