ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยิตส์ฮัก ราบิน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 35: บรรทัด 35:
ในบทบาทสำคัญของราบิน ที่มีต่อ[[ข้อตกลงสันติภาพออสโล]] ทำให้เขาได้รับรางวัลเบลสาขาสันติภาพ ในปีค.ศ. 1994 ซึ่งมีส่วนสำคัญในสังคมของชาวอิสราเอล ที่มองว่าราบิน เป็นผู้เสริมสร้างความสงบสุขในดินแดน และอีกส่วนที่มองว่าเป็นผู้ทรยศที่ยอมหยิบยื่นดินแดนที่ถือเป็นสิทธิโดยชอบธรรมของชาวอิสราเอล โดยฝั่งขวาจัดได้มองว่าเขาเป็นต้นเหตุของการทำให้ชาวยิวเป็นเป้าของการก่อการร้าย เนื่องจากการที่เขามีส่วนสำคัญในข้อตกลงสันติภาพออสโล
ในบทบาทสำคัญของราบิน ที่มีต่อ[[ข้อตกลงสันติภาพออสโล]] ทำให้เขาได้รับรางวัลเบลสาขาสันติภาพ ในปีค.ศ. 1994 ซึ่งมีส่วนสำคัญในสังคมของชาวอิสราเอล ที่มองว่าราบิน เป็นผู้เสริมสร้างความสงบสุขในดินแดน และอีกส่วนที่มองว่าเป็นผู้ทรยศที่ยอมหยิบยื่นดินแดนที่ถือเป็นสิทธิโดยชอบธรรมของชาวอิสราเอล โดยฝั่งขวาจัดได้มองว่าเขาเป็นต้นเหตุของการทำให้ชาวยิวเป็นเป้าของการก่อการร้าย เนื่องจากการที่เขามีส่วนสำคัญในข้อตกลงสันติภาพออสโล
ในปีค.ศ. 1994 ยิตซัค ราบิน ยังได้รับรางวัลเสรีภาพโรนัลด์ เรแกน จากอดีตสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่ง [[แนนซี เรแกน]] ซึ่งจะมอบให้แก่ผู้ที่เสริมสร้างอิสรภาพแก่มวลมนุษย์ได้อย่างเอนกอนันต์
ในปีค.ศ. 1994 ยิตซัค ราบิน ยังได้รับรางวัลเสรีภาพโรนัลด์ เรแกน จากอดีตสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่ง [[แนนซี เรแกน]] ซึ่งจะมอบให้แก่ผู้ที่เสริมสร้างอิสรภาพแก่มวลมนุษย์ได้อย่างเอนกอนันต์
[[Image:Bill_Clinton,_Yitzhak_Rabin,_Yasser_Arafat_at_the_White_House_1993-09-13.jpg|thumb|340px|ยิตซัค ราบิน [[บิล คลินตัน]]และ[[ยัสเซอร์ อาราฟัต]]ในระหว่างการตกลง[[ข้อตกลงสันติภาพออสโล]]เมื่อวันที่ 13 กันยายน 1993]]
[[ไฟล์:Bill_Clinton,_Yitzhak_Rabin,_Yasser_Arafat_at_the_White_House_1993-09-13.jpg|thumb|340px|ยิตซัค ราบิน [[บิล คลินตัน]]และ[[ยัสเซอร์ อาราฟัต]]ในระหว่างการตกลง[[ข้อตกลงสันติภาพออสโล]]เมื่อวันที่ 13 กันยายน 1993]]
{{รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ}}
{{รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ}}
{{บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์}}
{{บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:17, 20 เมษายน 2562

ยิตซัค ราบิน
Yitzhak Rabin
יִצְחָק רַבִּין
นายกรัฐมนตรีอิสราเอล คนที่ 5
ดำรงตำแหน่ง
13 กรกฎาคม ค.ศ. 1992 – 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1995
ประธานาธิบดีChaim Herzog
Ezer Weizman
ก่อนหน้ายิทแชค ชามียร์
ถัดไปชิมอน เปเรส
ดำรงตำแหน่ง
3 มิถุนายน ค.ศ. 1974 – 22 เมษายน ค.ศ. 1977
ประธานาธิบดีEphraim Katzir
ก่อนหน้าโกลดา เมอีร์
ถัดไปเมนาเฮม เบกิน
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด1 มีนาคม ค.ศ. 1922(1922-03-01)
เยรูซาเลม, ปาเลสไตน์ในอาณัติ
เสียชีวิต4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1995(1995-11-04) (73 ปี)
เทลอาวีฟ, อิสราเอล
ศาสนายูดาย
พรรคการเมืองAlignment, Labor Party
คู่สมรสLeah Rabin
บุตรDalia Rabin-Pelossof
Yuval Rabin
ลายมือชื่อ

ยิตซัค ราบิน (ฮีบรู: יִצְחָק רַבִּין ‎) (1 มีนาคม ค.ศ. 1922 – 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1995) เป็นนักการเมือง รัฐบุรุษ และนายพลเอกชาวอิสราเอล ราบินเคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนที่ 5 ของประเทศอิสราเอล โดยดำรงตำแหน่ง 2 วาระ คือเมื่อ ค.ศ. 1974-1977 และ ค.ศ. 1992 จนกระทั่งถูกลอบสังหารในปี ค.ศ. 1995 เขาได้รับตำแหน่งบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ในปีค.ศ. 1993 และรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ร่วมกับชิมอน เปเรสและยัสเซอร์ อาราฟัตในปี ค.ศ. 1994 ราบินถูกลอบสังหารโดยยิเกล แอไมร์ นักศึกษาชาวยิวฝ่ายขวาออร์ธอด็อกซ์ ซึ่งต่อต้านข้อตกลงสันติภาพออสโล

ราบินเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของอิสราเอลที่ถูกลอบสังหาร และเป็นคนที่สองที่ถึงแก่อสัญกรรมขณะดำรงตำแหน่ง

ชีวิตส่วนตัว

ราบินเกิดที่เยรูซาเลม ในสมัยที่ยังอยู่ในภายใต้การปกครองของอังกฤษ บิดาและมารดาของเขาเป็นชาวยิวที่อพยพมาจากทวีปยุโรป บิดาของเขาเสียชีวิตตั้งแต่เขายังเยาว์วัย ทำให้เขาต้องทำงานตั้งแต่เด็กเพื่อมาจุนเจือครอบครัว ราบินอพยพไปที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ขณะอายุ 18 ปี

รางวัลโนเบล

ในบทบาทสำคัญของราบิน ที่มีต่อข้อตกลงสันติภาพออสโล ทำให้เขาได้รับรางวัลเบลสาขาสันติภาพ ในปีค.ศ. 1994 ซึ่งมีส่วนสำคัญในสังคมของชาวอิสราเอล ที่มองว่าราบิน เป็นผู้เสริมสร้างความสงบสุขในดินแดน และอีกส่วนที่มองว่าเป็นผู้ทรยศที่ยอมหยิบยื่นดินแดนที่ถือเป็นสิทธิโดยชอบธรรมของชาวอิสราเอล โดยฝั่งขวาจัดได้มองว่าเขาเป็นต้นเหตุของการทำให้ชาวยิวเป็นเป้าของการก่อการร้าย เนื่องจากการที่เขามีส่วนสำคัญในข้อตกลงสันติภาพออสโล ในปีค.ศ. 1994 ยิตซัค ราบิน ยังได้รับรางวัลเสรีภาพโรนัลด์ เรแกน จากอดีตสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่ง แนนซี เรแกน ซึ่งจะมอบให้แก่ผู้ที่เสริมสร้างอิสรภาพแก่มวลมนุษย์ได้อย่างเอนกอนันต์

ยิตซัค ราบิน บิล คลินตันและยัสเซอร์ อาราฟัตในระหว่างการตกลงข้อตกลงสันติภาพออสโลเมื่อวันที่ 13 กันยายน 1993