ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชวงศ์เว็ททีน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|width=290px}}
{{ราชวงศ์
{{ราชวงศ์
|surname =ราชวงศ์เวททิน
|surname =ราชวงศ์เว็ททีน
|estate = แซกโซนี
|estate = แซกโซนี
|coat of arms = [[ไฟล์:Coat of Arms of the Kingdom of Saxony 1806-1918.svg|150px]]
|coat of arms = [[ไฟล์:Coat of Arms of the Kingdom of Saxony 1806-1918.svg|150px]]
บรรทัด 35: บรรทัด 34:
}}
}}


'''ราชวงศ์เวททิน''' ({{lang-en|House of Wettin}}) เป็นราชตระกูล[[เคานท์]], [[ดยุก]], [[พรินซ์อีเล็คเตอร์]] (Kurfürsten) และ [[พระมหากษัตริย์]][[ชาวเยอรมัน|เยอรมัน]]ที่เคยปกครองดินแดนที่ในปัจจุบันคือรัฐ[[แซกโซนี]]ใน[[เยอรมนี]] เป็นเวลากว่า 953 ปี, ส่วนที่เป็นแซ็กซอนใน[[แซกโซนี-อันฮาลท์]] และ [[ทูริงเกีย]] เป็นเวลากว่า 800 ปี นอกจากนั้นในบางครั้งก็ยังครองโปแลนด์ และ ลิทัวเนีย, บริเตนใหญ่, โปรตุเกส, บัลแกเรีย และเบลเยียม ในปัจจุบันเหลือเพียงใน[[บริเตนใหญ่]] (สหราชอาณาจักร) กับ[[เบลเยียม]]เท่านั้นที่ยังครองราชบัลลังก์อยู่
'''ราชวงศ์เว็ททีน''' ({{lang-en|House of Wettin}}) เป็นราชตระกูล[[เคานท์]], [[ดยุก]], [[พรินซ์อีเล็คเตอร์]] (Kurfürsten) และ [[พระมหากษัตริย์]][[ชาวเยอรมัน|เยอรมัน]]ที่เคยปกครองดินแดนที่ในปัจจุบันคือรัฐ[[แซกโซนี]]ใน[[เยอรมนี]] เป็นเวลากว่า 953 ปี, ส่วนที่เป็นแซ็กซอนใน[[แซกโซนี-อันฮาลท์]] และ [[ทูริงเกีย]] เป็นเวลากว่า 800 ปี นอกจากนั้นในบางครั้งก็ยังครองโปแลนด์ และ ลิทัวเนีย, บริเตนใหญ่, โปรตุเกส, บัลแกเรีย และเบลเยียม ในปัจจุบันเหลือเพียงใน[[บริเตนใหญ่]] (สหราชอาณาจักร) กับ[[เบลเยียม]]เท่านั้นที่ยังครองราชบัลลังก์อยู่


== ราชวงศ์เวททินสายเอิร์นเนสทีน และอัลเบอร์ทีน==
== ราชวงศ์เว็ททีนสายเอิร์นเนสทีน และอัลเบอร์ทีน==
[[File:Coat of Arms of the Kingdom of Saxony 1806-1918.svg|120px|left|thumb|ตราสัญลักษณ์ของราชวงศ์เวททินสายอัลเบอร์ทีน]]
[[File:Coat of Arms of the Kingdom of Saxony 1806-1918.svg|120px|left|thumb|ตราสัญลักษณ์ของราชวงศ์เว็ททีนสายอัลเบอร์ทีน]]


ราชวงศ์ได้แบ่งเป็นทั้งหมด 2 สายปกครองใหญ่ๆ ในปีค.ศ. 1485 เมื่อพระโอรสของ[[เฟรเดอริกที่ 2 เจ้านครรัฐผู้คัดเลือกแห่งแซกโซนี]] แบ่งดินแดนและปกครองร่วมกัน
ราชวงศ์ได้แบ่งเป็นทั้งหมด 2 สายปกครองใหญ่ๆ ในปีค.ศ. 1485 เมื่อพระโอรสของ[[เฟรเดอริกที่ 2 เจ้านครรัฐผู้คัดเลือกแห่งแซกโซนี]] แบ่งดินแดนและปกครองร่วมกัน
บรรทัด 46: บรรทัด 45:
สายที่อาวุโสกว่า คือ สายเอิร์นเนสทีนนั้นเป็นสายหลักที่ปกครองจนกระทั่งปีค.ศ. 1547 และมีบทบาทสำคัญยิ่งในช่วงแรกของ[[การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์]] บทบาทหลักของสายเอิร์นเนสทีนนั้นสิ้นสุดลงหลังจาก[[สงครามชมัลกัลดิก]] ซึ่งได้สนับสนุนกับฝ่ายโปรเตสแตนท์ของกลุ่มสันนิบาตชมัลกัลดิก กับ[[จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|จักรพรรดิคาร์ลที่ 5]] และถึงแม้ว่าสายอัลเบอร์ทีนจะเป็นโปรเตสแตนท์ด้วย แต่ก็ยกทัพเข้ากับฝ่ายของจักรพรรดิ พระองค์จึงพระราชทานรางวัลให้โดยตัดสมาชิกสายเอิร์นเนสทีนจากสิทธิ์ในการเป็น[[เจ้านครรัฐผู้คัดเลือก]] รวมทั้งดินแดน[[รัฐผู้คัดเลือกแซกโซนี]]อีกด้วย ส่วนสายเอิร์นเนสทีนนั้นเหลือแต่การปกครองในดินแดน[[ทูริงเกีย]]เท่านั้น แต่นั้นมาราชวงศ์สายนี้ก็ระส่ำระสาย
สายที่อาวุโสกว่า คือ สายเอิร์นเนสทีนนั้นเป็นสายหลักที่ปกครองจนกระทั่งปีค.ศ. 1547 และมีบทบาทสำคัญยิ่งในช่วงแรกของ[[การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์]] บทบาทหลักของสายเอิร์นเนสทีนนั้นสิ้นสุดลงหลังจาก[[สงครามชมัลกัลดิก]] ซึ่งได้สนับสนุนกับฝ่ายโปรเตสแตนท์ของกลุ่มสันนิบาตชมัลกัลดิก กับ[[จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|จักรพรรดิคาร์ลที่ 5]] และถึงแม้ว่าสายอัลเบอร์ทีนจะเป็นโปรเตสแตนท์ด้วย แต่ก็ยกทัพเข้ากับฝ่ายของจักรพรรดิ พระองค์จึงพระราชทานรางวัลให้โดยตัดสมาชิกสายเอิร์นเนสทีนจากสิทธิ์ในการเป็น[[เจ้านครรัฐผู้คัดเลือก]] รวมทั้งดินแดน[[รัฐผู้คัดเลือกแซกโซนี]]อีกด้วย ส่วนสายเอิร์นเนสทีนนั้นเหลือแต่การปกครองในดินแดน[[ทูริงเกีย]]เท่านั้น แต่นั้นมาราชวงศ์สายนี้ก็ระส่ำระสาย


สายอัลเบอร์ทีนนั้นได้คุมอำนาจการปกครองดินแดนแห่งแซกโซนี และเป็นราชวงศ์สายที่มีอำนาจมากในดินแดนแถบนั้น และใช้การแบ่งดินแดนเล็กๆเพื่อให้รัชทายาทปกครองตามอาวุโส ซึ่งบางดินแดนนั้นอยู่รอดผ่านมาได้เป็นเวลายาวนาน ในขณะที่ราชวงศ์เวททินสายเอิร์นเนสทีนนั้น ได้เลือกที่จะแบ่งดินแดนเป็น[[กลุ่มดัชชีเออร์เนสตีน|ดัชชีและราชรัฐต่างๆ]]ในทูริงเกีย
สายอัลเบอร์ทีนนั้นได้คุมอำนาจการปกครองดินแดนแห่งแซกโซนี และเป็นราชวงศ์สายที่มีอำนาจมากในดินแดนแถบนั้น และใช้การแบ่งดินแดนเล็กๆเพื่อให้รัชทายาทปกครองตามอาวุโส ซึ่งบางดินแดนนั้นอยู่รอดผ่านมาได้เป็นเวลายาวนาน ในขณะที่ราชวงศ์เว็ททีนสายเอิร์นเนสทีนนั้น ได้เลือกที่จะแบ่งดินแดนเป็น[[กลุ่มดัชชีเออร์เนสตีน|ดัชชีและราชรัฐต่างๆ]]ในทูริงเกีย


สายที่อาวุโสน้อยกว่า คือ สายอัลเบอร์ทีนนั้นได้ปกครองในฐานะ [[เจ้านครรัฐผู้คัดเลือก]] (ค.ศ. 1546 - 1806) และต่อมากษัตริย์แห่งแซกโซนี (ค.ศ. 1806 – 1918) และยังมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์ของโปแลนด์: สมาชิกสองพระองค์ได้เป็น[[รายพระนามพระมหากษัตริย์โปแลนด์|กษัตริย์แห่งโปแลนด์]] (ระหว่างปีค.ศ. 1697 - 1763) และอีกพระองค์ปกครอง[[ดัชชีแห่งวอร์ซอ]] (ค.ศ. 1807 - 1814) ในฐานะตัวแทนของ[[จักรพรรดินโปเลียนที่ 1|จักรพรรดินโปเลียน]] และหลังจาก[[สงครามนโปเลียน]] ได้สูญเสียดินแดนของสายนี้ไปถึง 40% รวมถึงดินแดน[[รัฐผู้คัดเลือกแซกโซนี]] ให้กับปรัสเซีย ซึ่งกลายเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนของ[[รัฐซัคเซิน]]ในยุคถัดมา (ดูรายละเอียดใน [[การประชุมใหญ่แห่งเวียนนา]])
สายที่อาวุโสน้อยกว่า คือ สายอัลเบอร์ทีนนั้นได้ปกครองในฐานะ [[เจ้านครรัฐผู้คัดเลือก]] (ค.ศ. 1546 - 1806) และต่อมากษัตริย์แห่งแซกโซนี (ค.ศ. 1806 – 1918) และยังมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์ของโปแลนด์: สมาชิกสองพระองค์ได้เป็น[[รายพระนามพระมหากษัตริย์โปแลนด์|กษัตริย์แห่งโปแลนด์]] (ระหว่างปีค.ศ. 1697 - 1763) และอีกพระองค์ปกครอง[[ดัชชีแห่งวอร์ซอ]] (ค.ศ. 1807 - 1814) ในฐานะตัวแทนของ[[จักรพรรดินโปเลียนที่ 1|จักรพรรดินโปเลียน]] และหลังจาก[[สงครามนโปเลียน]] ได้สูญเสียดินแดนของสายนี้ไปถึง 40% รวมถึงดินแดน[[รัฐผู้คัดเลือกแซกโซนี]] ให้กับปรัสเซีย ซึ่งกลายเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนของ[[รัฐซัคเซิน]]ในยุคถัดมา (ดูรายละเอียดใน [[การประชุมใหญ่แห่งเวียนนา]])


[[Image:Dresden-Hofkirche-Gruft.jpg|thumb|สมาชิกฝ่าย[[โรมันคาทอลิก]]ของราชวงศ์เวททินนั้นฝังอยู่ที่[[คริพท์]]ในโบสถ์คาทอลิกแห่งราชสำนักแซกโซนี (Katholische Hofkirche) ที่[[เดรสเดิน]]]]
[[Image:Dresden-Hofkirche-Gruft.jpg|thumb|สมาชิกฝ่าย[[โรมันคาทอลิก]]ของราชวงศ์เว็ททีนนั้นฝังอยู่ที่[[คริพท์]]ในโบสถ์คาทอลิกแห่งราชสำนักแซกโซนี (Katholische Hofkirche) ที่[[เดรสเดิน]]]]


==ราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา==
==ราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา==
{{main|ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา}}
{{main|ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา}}


หลังจากที่สมาชิกอาวุโสสายเอิร์นเนสทีนได้สูญเสียสิทธิการเป็น[[เจ้านครรัฐผู้คัดเลือก]]ให้แก่สายอัลเบอร์ทีนในปีค.ศ. 1547 แต่ยังคงถือสิทธิ์ในดินแดน[[ทูริงเกีย]] โดยแบ่งเป็นราชรัฐเล็กๆหลายแห่ง โดยหนึ่งในนั้นได้แก่ สายซัคเซิน-โคบูร์กและซาลเฟลด์ และต่อมาเปลี่ยนเป็น สายซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา ตั้งแต่ปี[[ค.ศ. 1826]] เป็นต้นไป และจากนั้นได้รับการคัดเลือกเป็น[[รายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียม|พระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียม]] (ตั้งแต่ปีค.ศ. 1831) และ[[บัลแกเรีย]] (ค.ศ. 1908 - 1946) รวมถึงการส่งเจ้าชายไปอภิเษกกับประมุขแห่ง[[โปรตุเกส]] ([[พระเจ้าเฟอร์นันโดที่ 2 แห่งโปรตุเกส]]) และ[[สหราชอาณาจักร]] ([[เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี]]) ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า ราชบัลลังก์ของบริเตนใหญ่ และโปรตุเกสนั้นสืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์เวททิน
หลังจากที่สมาชิกอาวุโสสายเอิร์นเนสทีนได้สูญเสียสิทธิการเป็น[[เจ้านครรัฐผู้คัดเลือก]]ให้แก่สายอัลเบอร์ทีนในปีค.ศ. 1547 แต่ยังคงถือสิทธิ์ในดินแดน[[ทูริงเกีย]] โดยแบ่งเป็นราชรัฐเล็กๆหลายแห่ง โดยหนึ่งในนั้นได้แก่ สายซัคเซิน-โคบูร์กและซาลเฟลด์ และต่อมาเปลี่ยนเป็น สายซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา ตั้งแต่ปี[[ค.ศ. 1826]] เป็นต้นไป และจากนั้นได้รับการคัดเลือกเป็น[[รายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียม|พระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียม]] (ตั้งแต่ปีค.ศ. 1831) และ[[บัลแกเรีย]] (ค.ศ. 1908 - 1946) รวมถึงการส่งเจ้าชายไปอภิเษกกับประมุขแห่ง[[โปรตุเกส]] ([[พระเจ้าเฟอร์นันโดที่ 2 แห่งโปรตุเกส]]) และ[[สหราชอาณาจักร]] ([[เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี]]) ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า ราชบัลลังก์ของบริเตนใหญ่ และโปรตุเกสนั้นสืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์เว็ททีน


ตั้งแต่รัชสมัยของ[[สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่|สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 1]] จนกระทั่ง[[สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย]] ราชวงศ์แห่งอังกฤษนั้นมักจะถูกเรียกบ่อยครั้งว่า [[ฮันโนเวอร์]], [[ดัชชีเบราน์ชไวก์-ลือเนบูร์ก|เบราน์ชไวก์]] และ[[ตระกูลเวลฟ|เกลฟ]] ต่อมาปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 [[สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย]] ทรงมีพระราชโองการให้ราชสำนักสืบค้นราชสกุลที่ถูกต้องที่สุดของพระราชสวามี คือ [[เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี|เจ้าชายอัลเบิร์ตแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา]]ซึ่งราชสกุลนี้จะกลายเป็นนามของพระราชวงศ์ที่จะใช้ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระราชโอรสของพระองค์ และภายหลังจากการสืบค้นอย่างถี่ถ้วนแล้วสามารถสรุปได้ว่าเป็นราชวงศ์เวททิน แต่กระนั้นก็มิเคยเห็นนามนี้ปรากฏในพระปรมาภิไธยของสมเด็จพระราชินีนาถ พระราชโอรส หรือแม้กระทั่งพระราชนัดดาเลย โดย[[สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7]]และ[[สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5]] ได้ทรงให้ออกพระนามพระราชวงศ์ว่า "ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา"
ตั้งแต่รัชสมัยของ[[สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่|สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 1]] จนกระทั่ง[[สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย]] ราชวงศ์แห่งอังกฤษนั้นมักจะถูกเรียกบ่อยครั้งว่า [[ฮันโนเวอร์]], [[ดัชชีเบราน์ชไวก์-ลือเนบูร์ก|เบราน์ชไวก์]] และ[[ตระกูลเวลฟ|เกลฟ]] ต่อมาปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 [[สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย]] ทรงมีพระราชโองการให้ราชสำนักสืบค้นราชสกุลที่ถูกต้องที่สุดของพระราชสวามี คือ [[เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี|เจ้าชายอัลเบิร์ตแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา]]ซึ่งราชสกุลนี้จะกลายเป็นนามของพระราชวงศ์ที่จะใช้ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระราชโอรสของพระองค์ และภายหลังจากการสืบค้นอย่างถี่ถ้วนแล้วสามารถสรุปได้ว่าเป็นราชวงศ์เว็ททีน แต่กระนั้นก็มิเคยเห็นนามนี้ปรากฏในพระปรมาภิไธยของสมเด็จพระราชินีนาถ พระราชโอรส หรือแม้กระทั่งพระราชนัดดาเลย โดย[[สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7]]และ[[สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5]] ได้ทรงให้ออกพระนามพระราชวงศ์ว่า "ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา"


หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 ทำให้กระแสการต่อต้านเยอรมันนั้นรุนแรงมากขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อพระราชวงศ์ เนื่องจากนามพระราชวงศ์นั้นออกเสียงไปในทางแบบเยอรมัน ที่ปรึกษาของ[[สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5]] ได้พยายามค้นหาชื่อที่เหมาะสมกว่าสำหรับพระราชวงศ์ แต่ "เวททิน" ก็ยังถูกปฏิเสธเนืื่องจากความไม่เหมาะสม และในที่สุดก็ออกประกาศให้เปลี่ยนนามพระราชวงศ์ใหม่เป็น "วินด์เซอร์" มาจนกระทั่งปัจจุบัน
หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 ทำให้กระแสการต่อต้านเยอรมันนั้นรุนแรงมากขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อพระราชวงศ์ เนื่องจากนามพระราชวงศ์นั้นออกเสียงไปในทางแบบเยอรมัน ที่ปรึกษาของ[[สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5]] ได้พยายามค้นหาชื่อที่เหมาะสมกว่าสำหรับพระราชวงศ์ แต่ "เว็ททีน" ก็ยังถูกปฏิเสธเนืื่องจากความไม่เหมาะสม และในที่สุดก็ออกประกาศให้เปลี่ยนนามพระราชวงศ์ใหม่เป็น "วินด์เซอร์" มาจนกระทั่งปัจจุบัน


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 70: บรรทัด 69:


{{ราชวงศ์ยุโรป}}
{{ราชวงศ์ยุโรป}}
{{เรียงลำดับ|วเวททิน}}
{{เรียงลำดับ|เว็ททีน}}
{{โครงประวัติศาสตร์}}
{{โครงประวัติศาสตร์}}


[[หมวดหมู่:ราชวงศ์เวททิน|*]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์เวททิน| ]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์ยุโรป]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์ยุโรป]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์เยอรมัน]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์เยอรมัน]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:22, 19 เมษายน 2562

ราชวงศ์เว็ททีน
พระราชอิสริยยศ
ปกครองแซกโซนี
เชื้อชาติเยอรมัน
สาขาตามลำดับอาวุโส:

สายเอิร์นเนสทีน:

สายอัลเบอร์ทีน:

ประมุขพระองค์แรกทีเดอริคัส
ผู้นำสกุลองค์ปัจจุบันมิคาเอล เจ้าชายแซ็กซ์-ไวมาร์-ไอเซ็นนาค แกรนด์ดยุกแห่งแซกโซนีในนาม
ประมุขพระองค์สุดท้ายประมุขในหลายอาณาจักรจนถึง ค.ศ. 1918
สถาปนาราว ค.ศ. 900 (1,113 ปีก่อน)
สิ้นสุดค.ศ. 1918

ราชวงศ์เว็ททีน (อังกฤษ: House of Wettin) เป็นราชตระกูลเคานท์, ดยุก, พรินซ์อีเล็คเตอร์ (Kurfürsten) และ พระมหากษัตริย์เยอรมันที่เคยปกครองดินแดนที่ในปัจจุบันคือรัฐแซกโซนีในเยอรมนี เป็นเวลากว่า 953 ปี, ส่วนที่เป็นแซ็กซอนในแซกโซนี-อันฮาลท์ และ ทูริงเกีย เป็นเวลากว่า 800 ปี นอกจากนั้นในบางครั้งก็ยังครองโปแลนด์ และ ลิทัวเนีย, บริเตนใหญ่, โปรตุเกส, บัลแกเรีย และเบลเยียม ในปัจจุบันเหลือเพียงในบริเตนใหญ่ (สหราชอาณาจักร) กับเบลเยียมเท่านั้นที่ยังครองราชบัลลังก์อยู่

ราชวงศ์เว็ททีนสายเอิร์นเนสทีน และอัลเบอร์ทีน

ตราสัญลักษณ์ของราชวงศ์เว็ททีนสายอัลเบอร์ทีน

ราชวงศ์ได้แบ่งเป็นทั้งหมด 2 สายปกครองใหญ่ๆ ในปีค.ศ. 1485 เมื่อพระโอรสของเฟรเดอริกที่ 2 เจ้านครรัฐผู้คัดเลือกแห่งแซกโซนี แบ่งดินแดนและปกครองร่วมกัน

พระโอรสพระองค์ใหญ่ เอิร์นเนส, เจ้านครรัฐผู้คัดเลือกแห่งแซกโซนี ได้รับตำแหน่งต่อจากพระราชบิดาในฐานะของ พรินซ์อีเล็คเตอร์ (เจ้านครรัฐผู้คัดเลือก) รวมทั้งดินแดนส่วนหนึ่งที่ตกอยู่ในปกครองของพระองค์ ได้แก่ รัฐผู้คัดเลือกแซกโซนี (Electorate of Saxony) และทูริงเกีย (Thuringia) ในขณะที่พระโอรสพระองค์เล็ก คือ ดยุกอัลเบิร์ตที่ 3 แห่งแซกโซนี ได้รับดินแดนรัฐมาร์เกรฟไมเซิน ซึ่งทรงปกครองจากเดรสเดิน ในฐานะที่พระองค์ทรงปกครองในฐานะ "ดยุกแห่งแซกโซนี"

สายที่อาวุโสกว่า คือ สายเอิร์นเนสทีนนั้นเป็นสายหลักที่ปกครองจนกระทั่งปีค.ศ. 1547 และมีบทบาทสำคัญยิ่งในช่วงแรกของการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ บทบาทหลักของสายเอิร์นเนสทีนนั้นสิ้นสุดลงหลังจากสงครามชมัลกัลดิก ซึ่งได้สนับสนุนกับฝ่ายโปรเตสแตนท์ของกลุ่มสันนิบาตชมัลกัลดิก กับจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 และถึงแม้ว่าสายอัลเบอร์ทีนจะเป็นโปรเตสแตนท์ด้วย แต่ก็ยกทัพเข้ากับฝ่ายของจักรพรรดิ พระองค์จึงพระราชทานรางวัลให้โดยตัดสมาชิกสายเอิร์นเนสทีนจากสิทธิ์ในการเป็นเจ้านครรัฐผู้คัดเลือก รวมทั้งดินแดนรัฐผู้คัดเลือกแซกโซนีอีกด้วย ส่วนสายเอิร์นเนสทีนนั้นเหลือแต่การปกครองในดินแดนทูริงเกียเท่านั้น แต่นั้นมาราชวงศ์สายนี้ก็ระส่ำระสาย

สายอัลเบอร์ทีนนั้นได้คุมอำนาจการปกครองดินแดนแห่งแซกโซนี และเป็นราชวงศ์สายที่มีอำนาจมากในดินแดนแถบนั้น และใช้การแบ่งดินแดนเล็กๆเพื่อให้รัชทายาทปกครองตามอาวุโส ซึ่งบางดินแดนนั้นอยู่รอดผ่านมาได้เป็นเวลายาวนาน ในขณะที่ราชวงศ์เว็ททีนสายเอิร์นเนสทีนนั้น ได้เลือกที่จะแบ่งดินแดนเป็นดัชชีและราชรัฐต่างๆในทูริงเกีย

สายที่อาวุโสน้อยกว่า คือ สายอัลเบอร์ทีนนั้นได้ปกครองในฐานะ เจ้านครรัฐผู้คัดเลือก (ค.ศ. 1546 - 1806) และต่อมากษัตริย์แห่งแซกโซนี (ค.ศ. 1806 – 1918) และยังมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์ของโปแลนด์: สมาชิกสองพระองค์ได้เป็นกษัตริย์แห่งโปแลนด์ (ระหว่างปีค.ศ. 1697 - 1763) และอีกพระองค์ปกครองดัชชีแห่งวอร์ซอ (ค.ศ. 1807 - 1814) ในฐานะตัวแทนของจักรพรรดินโปเลียน และหลังจากสงครามนโปเลียน ได้สูญเสียดินแดนของสายนี้ไปถึง 40% รวมถึงดินแดนรัฐผู้คัดเลือกแซกโซนี ให้กับปรัสเซีย ซึ่งกลายเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนของรัฐซัคเซินในยุคถัดมา (ดูรายละเอียดใน การประชุมใหญ่แห่งเวียนนา)

สมาชิกฝ่ายโรมันคาทอลิกของราชวงศ์เว็ททีนนั้นฝังอยู่ที่คริพท์ในโบสถ์คาทอลิกแห่งราชสำนักแซกโซนี (Katholische Hofkirche) ที่เดรสเดิน

ราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

หลังจากที่สมาชิกอาวุโสสายเอิร์นเนสทีนได้สูญเสียสิทธิการเป็นเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกให้แก่สายอัลเบอร์ทีนในปีค.ศ. 1547 แต่ยังคงถือสิทธิ์ในดินแดนทูริงเกีย โดยแบ่งเป็นราชรัฐเล็กๆหลายแห่ง โดยหนึ่งในนั้นได้แก่ สายซัคเซิน-โคบูร์กและซาลเฟลด์ และต่อมาเปลี่ยนเป็น สายซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา ตั้งแต่ปีค.ศ. 1826 เป็นต้นไป และจากนั้นได้รับการคัดเลือกเป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียม (ตั้งแต่ปีค.ศ. 1831) และบัลแกเรีย (ค.ศ. 1908 - 1946) รวมถึงการส่งเจ้าชายไปอภิเษกกับประมุขแห่งโปรตุเกส (พระเจ้าเฟอร์นันโดที่ 2 แห่งโปรตุเกส) และสหราชอาณาจักร (เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี) ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า ราชบัลลังก์ของบริเตนใหญ่ และโปรตุเกสนั้นสืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์เว็ททีน

ตั้งแต่รัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 1 จนกระทั่งสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ราชวงศ์แห่งอังกฤษนั้นมักจะถูกเรียกบ่อยครั้งว่า ฮันโนเวอร์, เบราน์ชไวก์ และเกลฟ ต่อมาปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ทรงมีพระราชโองการให้ราชสำนักสืบค้นราชสกุลที่ถูกต้องที่สุดของพระราชสวามี คือ เจ้าชายอัลเบิร์ตแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาซึ่งราชสกุลนี้จะกลายเป็นนามของพระราชวงศ์ที่จะใช้ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระราชโอรสของพระองค์ และภายหลังจากการสืบค้นอย่างถี่ถ้วนแล้วสามารถสรุปได้ว่าเป็นราชวงศ์เว็ททีน แต่กระนั้นก็มิเคยเห็นนามนี้ปรากฏในพระปรมาภิไธยของสมเด็จพระราชินีนาถ พระราชโอรส หรือแม้กระทั่งพระราชนัดดาเลย โดยสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7และสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 ได้ทรงให้ออกพระนามพระราชวงศ์ว่า "ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา"

หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 ทำให้กระแสการต่อต้านเยอรมันนั้นรุนแรงมากขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อพระราชวงศ์ เนื่องจากนามพระราชวงศ์นั้นออกเสียงไปในทางแบบเยอรมัน ที่ปรึกษาของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 ได้พยายามค้นหาชื่อที่เหมาะสมกว่าสำหรับพระราชวงศ์ แต่ "เว็ททีน" ก็ยังถูกปฏิเสธเนืื่องจากความไม่เหมาะสม และในที่สุดก็ออกประกาศให้เปลี่ยนนามพระราชวงศ์ใหม่เป็น "วินด์เซอร์" มาจนกระทั่งปัจจุบัน

อ้างอิง

ดูเพิ่ม