ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กาลีนา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
→‎ประโยชน์: แก้ตัวสะกดให้ถูกต้อง
บรรทัด 49: บรรทัด 49:
ที่มาตอมดวงตา<ref>{{cite book|author=Metropolitan Museum of Art |title=The Art of Medicine in Ancient Egypt |location=New York |date=2005 |page=10 |isbn=1-58839-170-1}}</ref>
ที่มาตอมดวงตา<ref>{{cite book|author=Metropolitan Museum of Art |title=The Art of Medicine in Ancient Egypt |location=New York |date=2005 |page=10 |isbn=1-58839-170-1}}</ref>


เป็นสินแร่ตะกั่วและเงิน(ถ้ามีปนมากพอควร ) โลหะตะกั่วทำแบตเตอรี่ หุ้มสายเคเบิลใหญ่ๆ ที่ฝังใต้ดิน ทำตะกั่วบัดกรี ลูกปืน โลหะตัวพิมพ์ โลหะผสมนานาชนิด ใช้ในการทำเบ้าหล่อยาง ทำหลอดบีบขนาดใหญ่ ใช้เป็นตัวกันกระเทือนในเครื่องจักร ใช้เป็นตัวกันมันตรังสีและรังสีเอกช์ได้ด้วย นอกจากนี้ ยังใช้ทำผงตะกั่วแดง (เสน) ตะกั่วเหลือง สำหรับเครือบภาชนะ<ref name="กรมทรัพยากรธรณี">http://www.dmr.go.th/main.php?filename=galena กาลีนา กรมทรัพยากรธรณี</ref>
เป็นสินแร่ตะกั่วและเงิน(ถ้ามีปนมากพอควร ) โลหะตะกั่วทำแบตเตอรี่ หุ้มสายเคเบิลใหญ่ๆ ที่ฝังใต้ดิน ทำตะกั่วบัดกรี ลูกปืน โลหะตัวพิมพ์ โลหะผสมนานาชนิด ใช้ในการทำเบ้าหล่อยาง ทำหลอดบีบขนาดใหญ่ ใช้เป็นตัวกันกระเทือนในเครื่องจักร ใช้เป็นตัวกันมันตรังสีและรังสีเอกช์ได้ด้วย นอกจากนี้ ยังใช้ทำผงตะกั่วแดง (เสน) ตะกั่วเหลือง สำหรับเคลือบภาชนะ<ref name="กรมทรัพยากรธรณี">http://www.dmr.go.th/main.php?filename=galena กาลีนา กรมทรัพยากรธรณี</ref>


== แหล่งที่พบ ==
== แหล่งที่พบ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:56, 2 เมษายน 2562

กาลีนา
การจำแนก
ประเภทแร่ซัลไฟด์
สูตรเคมีPbS
คุณสมบัติ
สีเทาตะกั่ว เงิน
โครงสร้างผลึกคิวบิก
แนวแตกเรียบมีแนวแตกเรียบ 3 แนว (ปกติ) และสมบูรณ์ชัดเป็นรูปลูกบากศ์
ความยืดหยุ่นเปราะ
ค่าความแข็ง2.5–2.75
ความวาววาวแบบโลหะ
คุณสมบัติทางแสงและทึบแสง
สีผงละเอียดเทาตะกั่ว
ความถ่วงจำเพาะ7.2–7.6
การหลอมตัว2
ความโปร่งทึบแสง
คุณสมบัติอื่นสารกึ่งตัวนำ
อ้างอิง: [1][2][3]

กาลีนา เป็นสินแร่สำคัญของตะกั่วและเงิน[4][5]

ประโยชน์

กาลีนาถูกใช้เป็นอายไลเนอร์ในสมัยอียิปต์โบราณ ที่ใช้ทารอบรอบๆ ดวงตา เพื่อช่วยลดแสงกระทบของดวงอาทิตย์ในทะเลทรายและลดแมลงม ที่มาตอมดวงตา[6]

เป็นสินแร่ตะกั่วและเงิน(ถ้ามีปนมากพอควร ) โลหะตะกั่วทำแบตเตอรี่ หุ้มสายเคเบิลใหญ่ๆ ที่ฝังใต้ดิน ทำตะกั่วบัดกรี ลูกปืน โลหะตัวพิมพ์ โลหะผสมนานาชนิด ใช้ในการทำเบ้าหล่อยาง ทำหลอดบีบขนาดใหญ่ ใช้เป็นตัวกันกระเทือนในเครื่องจักร ใช้เป็นตัวกันมันตรังสีและรังสีเอกช์ได้ด้วย นอกจากนี้ ยังใช้ทำผงตะกั่วแดง (เสน) ตะกั่วเหลือง สำหรับเคลือบภาชนะ[5]

แหล่งที่พบ

ในประเทศไทย

พบที่ จังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน เชียงราย ลำปาง แพร่ น่าน ตาก กำแพงเพชร เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุทัยธานี เลย อุดรธานี อุบลราชธานี กาญจนบุรี เพชรบุรี ชุมพร นครศรีธรรมราช ยะลา และสงขลา

ต่างประเทศ

พบมากในประเทศสหรัฐอเมริกา สวีเดน สเปน พม่า และออสเตรเลีย[5]

อ้างอิง

  1. Anthony, John W.; Bideaux, Richard A.; Bladh, Kenneth W.; Nichols, Monte C., บ.ก. (1990). "Galena". Handbook of Mineralogy (PDF). Vol. 1. Chantilly, VA: Mineralogical Society of America. ISBN 0962209708.
  2. Galena. Webmineral
  3. Galena. Mindat.org
  4. Young, Courtney A.; Taylor, Patrick R.; Anderson, Corby G. (2008). Hydrometallurgy 2008: Proceedings of the Sixth International Symposium. SME. ISBN 9780873352666.
  5. 5.0 5.1 5.2 http://www.dmr.go.th/main.php?filename=galena กาลีนา กรมทรัพยากรธรณี
  6. Metropolitan Museum of Art (2005). The Art of Medicine in Ancient Egypt. New York. p. 10. ISBN 1-58839-170-1.

แหล่งข้อมูลอื่น