ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฝ่ายบริหารกลางทิเบต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Fifakaka2011 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Fifakaka2011 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
ในปี [[พ.ศ. 2544]] ชุมชนชาวทิเบตทั่วโลกได้มีการเลือกตั้งตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ({{lang-bo|བཀའ་བློན་ཁྲི་པའ་, Kalon Tripa}}) โดยผู้ที่ได้รับเลือกตั้งคือ "[[ลอบซัง เทนซิน]]" พระ[[ภิกษุ]]วัย 62 ปี ซึ่งเป็นการเลือกตั้งแบบประชาธิปไตยครั้งแรกใน[[ประวัติศาสตร์ทิเบต]]
ในปี [[พ.ศ. 2544]] ชุมชนชาวทิเบตทั่วโลกได้มีการเลือกตั้งตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ({{lang-bo|བཀའ་བློན་ཁྲི་པའ་, Kalon Tripa}}) โดยผู้ที่ได้รับเลือกตั้งคือ "[[ลอบซัง เทนซิน]]" พระ[[ภิกษุ]]วัย 62 ปี ซึ่งเป็นการเลือกตั้งแบบประชาธิปไตยครั้งแรกใน[[ประวัติศาสตร์ทิเบต]]


ในปี พ.ศ. 2555 ได้มีการปรับปรุงกฎหมายของฝ่ายบริหารกลาง ให้ยกเลิกตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และการยกเลิกอำนาจในการบริหารของทะไล ลามะ และแต่งตั้งให้ "ลอบซัง เทนซิน" เป็น ประธานคณะกรรมการบริหารทิเบตกลางให้เป็นผู้มีอำนาจบริหารเต็ม ([[ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า|ทิเบต:]] སྲིད་སྐྱོང , Sikyong หมายถึง ผู้แทน หรือ ผู้ปกครอง)
ในปี พ.ศ. 2555 ได้มีการปรับปรุงกฎหมายของฝ่ายบริหารกลาง ให้ยกเลิกตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และการยกเลิกอำนาจในการบริหารของทะไล ลามะ และแต่งตั้งให้ "[[ลอบซัง ซังเกย์]]" เป็น ประธานคณะกรรมการบริหารทิเบตกลางให้เป็นผู้มีอำนาจบริหารเต็ม ([[ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า|ทิเบต:]] སྲིད་སྐྱོང , Sikyong หมายถึง ผู้แทน หรือ ผู้ปกครอง)


[[หมวดหมู่:ขบวนการทางการเมืองในประเทศจีน]]
[[หมวดหมู่:ขบวนการทางการเมืองในประเทศจีน]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:10, 31 มีนาคม 2562

ฝ่ายบริหารกลางทิเบต หรือ ฝ่ายบริหารกลางทิเบตขององค์ทะไลลามะ (อังกฤษ: Central Tibetan Administration, CTA; หรือ Central Tibetan Administration of His Holiness the Dalai Lama) เป็นรัฐบาลพลัดถิ่น นำโดย "เทนซิน กยัตโส" ทะไลลามะองค์ที่ 14 จุดยืนขององค์กรนี้คือ ทิเบตเป็นชาติอิสระที่มีเอกราชมายาวนาน มิใช่ส่วนหนึ่งของจีน ปัจจุบันแม้ว่าทิเบตจะยังไม่ได้รับเอกราช แต่ก็ได้สิทธิปกครองตนเองเช่นเดียวกับฮ่องกง

กองบัญชาการใหญ่ของรัฐบาลพลัดถิ่นนี้อยู่ที่ธรรมศาลาในอินเดีย ที่ทะไลลามะจัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2502 หลังจากการจลาจลเพื่อต่อต้านจีนล้มเหลว ดินแดนทิเบตในความหมายของรัฐบาลพลัดถิ่นนี้ ได้แก่เขตปกครองตนเองทิเบต มณฑลชิงไห่ และบางส่วนของมณฑลใกล้เคียงคือ กันซู เสฉวน และยูนนาน ซึ่งถือเป็นดินแดนของทิเบตในประวัติศาสตร์ รัฐบาลพลัดถิ่นนี้ได้รับอนุญาตจากรัฐบาลอินเดียให้เข้ามาดูแลชุมชนชาวทิเบตราว 100,000 คนที่ลี้ภัยอยู่ในอินเดียภาคเหนือ อย่างไรก็ตาม ไม่มีประเทศใดยอมรับว่ารัฐบาลพลัดถิ่นของทิเบตเป็นรัฐบาล

ในปี พ.ศ. 2544 ชุมชนชาวทิเบตทั่วโลกได้มีการเลือกตั้งตำแหน่งนายกรัฐมนตรี (ทิเบต: བཀའ་བློན་ཁྲི་པའ་, Kalon Tripa) โดยผู้ที่ได้รับเลือกตั้งคือ "ลอบซัง เทนซิน" พระภิกษุวัย 62 ปี ซึ่งเป็นการเลือกตั้งแบบประชาธิปไตยครั้งแรกในประวัติศาสตร์ทิเบต

ในปี พ.ศ. 2555 ได้มีการปรับปรุงกฎหมายของฝ่ายบริหารกลาง ให้ยกเลิกตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และการยกเลิกอำนาจในการบริหารของทะไล ลามะ และแต่งตั้งให้ "ลอบซัง ซังเกย์" เป็น ประธานคณะกรรมการบริหารทิเบตกลางให้เป็นผู้มีอำนาจบริหารเต็ม (ทิเบต: སྲིད་སྐྱོང , Sikyong หมายถึง ผู้แทน หรือ ผู้ปกครอง)