ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอชทีเอ็มแอล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ajraddatz (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 2001:44C8:4204:FC24:1:1:9CAD:343C (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Potapt
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{HTML}}

'''เอชทีเอ็มแอล''' ({{lang-en|HTML: Hypertext Markup Language}} ''ภาษามาร์กอัปข้อความหลายมิติ'') เป็น[[ภาษามาร์กอัป]]หลักในปัจจุบันที่ใช้ในการสร้าง[[เว็บเพจ]] หรือข้อมูลอื่นที่เรียกดูผ่านทาง[[เว็บเบราว์เซอร์]] ซึ่งตัวโค้ดจะแสดงโครงสร้างของข้อมูล ในการแสดง หัวข้อ ลิงก์ ย่อหน้า รายการ รวมถึงการสร้างแบบฟอร์ม เชื่อมโยงภาพหรือวิดีโอด้วย โครงสร้างของโค้ดเอชทีเอ็มแอลจะอยู่ในลักษณะภายในวงเล็บสามเหลี่ยม

เอชทีเอ็มแอลเริ่มพัฒนาโดย [[ทิม เบอร์เนอรส์ ลี]] (Tim Berners Lee) สำหรับภาษา SGML ในปัจจุบัน HTML เป็นมาตรฐานหนึ่งของ [[ISO]] ซึ่งจัดการโดย World Wide Web Consortium (W3C) ในปัจจุบัน
ทาง W3C ผลักดัน รูปแบบของ HTML แบบใหม่ ที่เรียกว่า [[XHTML]] ซึ่งเป็นลักษณะของโครงสร้าง [[XML]] แบบหนึ่งที่มีหลักเกณฑ์ในการกำหนดโครงสร้างของโปรแกรมที่มีรูปแบบที่มาตรฐานกว่า มาทดแทนใช้ HTML รุ่น 4.01 ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน <ref>[http://www.w3.org/History/1989/proposal.html ประวัติที่มาของ HTML]</ref> ขณะที่ HTML รุ่น 5 ยังคงยังอยู่ในระหว่างการพิจารณา โดยได้มีการออกดราฟต์มาเสนอเมื่อวันที่ 22 มกราคม 2551 <ref>[http://www.w3.org/TR/2008/WD-html5-20080122/ A vocabulary and associated APIs for HTML and XHTML] W3C Working Draft 22 January 2008</ref>

HTML ยังคงเป็นรูปแบบไฟล์อย่างหนึ่ง สำหรับ .html และ สำหรับ .htm ที่ใช้ในระบบปฏิบัติการที่รองรับ รูปแบบนามสกุล 3 ตัวอักษร

== Markup ==
== Markup ==
ลักษณะชนิดของมาร์กอัป ใน
ลักษณะชนิดของมาร์กอัป ใน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:47, 29 มีนาคม 2562

Markup

ลักษณะชนิดของมาร์กอัป ใน

  • markupสำหรับ การมี sอธิบายจุดประสงค์ ของข้อมูล ตัวอย่างเช่น
<h2>ฟุตบอล</h2>
กำหนดให้เบราว์เซอร์คำนวณ "ฟุตบอล" เป็นลักษณะของหัวข้ออันดับที่ 2 มาร์กอัปโครงหลัก โดยปกติไม่ได้กำหนดลักษณะการแสดงผล แต่อย่างไรก็ตาม ทางเบราว์เซอร์กำหนดการแสดงผลมาตรฐานของมาร์กอัป โดยปกติจะแสดงผลในลักษณะที่ตัวอักษรขนาดใหญ่ และมีความหนา การกำหนดลักษณะสามารถทำได้ในส่วนของ Cascading Style Sheets (CSS)
  • มาร์กอัปสำหรับ การแสดงผล อธิบายการแสดงผลของ ข้อความโดยไม่ได้มีความหมายอื่นในทางโครงสร้าง ตัวอย่างเช่น
<b>ตัวหนา</b> <i>ตัวเอียง</i> <u>ขีดเส้นใต้</u>
กำหนดให้คำว่า "ตัวหนา" แสดงผลในลักษณะตัวหนา เช่นเดียวกับการแสดงผลใน ตัวเอียง หรือ ขีดเส้นใต้
  • มาร์กอัปไฮเปอร์เท็กซท์ อธิบายการเชื่อมโยงระหว่าง ส่วนหนึ่งของข้อมูลไปยังอีกส่วนหนึ่งของข้อมูล ไม่ว่าจะถูกจัดเก็บในแฟ้มข้อมูลเดียวกันหรือไม่ก็ตาม ตัวอย่างเช่น
กำหนดให้การแสดงผล เว็บไซต์วิกิพีเดีย เป็น ไฮเปอร์ลิงก์ ไปที่ URL ที่กำหนดไว้

การพัฒนาเว็บเพจแนวใหม่ด้วยมาร์กอัป <div>

เนื่องจากข้อจำกัดของ HTML ทำให้ผู้ใช้แนวทางเก่าใช้แท็ก Table ในการจัดโครงสร้างของเนื้อหา ในปัจจุบัน ได้มีแนวทางใหม่ในการใช้แท็ก div ร่วมกับ การกำหนด CSS ในการจัดโครงสร้างของเนื้อหา ตามแบบฉบับการทำงานของบริษัทแมโครมีเดีย ซึ่งทำให้เราสามารถออกนอกกรอบและสามารถจัดเอกสารได้ง่าย และรวดเร็วกว่า อีกด้วย

ตัวอักษรเลื่อน

  • โค้ดนี้จะทำให้ตัวอักษรเลื่อนไปทางซ้ายได้
<marquee>ตัวอักษรเลื่อน</marquee>

อ้างอิง