ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นาซีเยอรมนี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
== สังคม ==

=== การศึกษา ===
การศึกษาภายใต้ระบอบนาซีเยอรมนีมุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร วัฒนธรรม ภูมิศาสตร์ และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง สมรรถภาพทางกาย<ref name="edu">Pauley, Bruce F. ''Hitler, Stalin and Mussolini: Totalitarianism in the Twentieth Century.'' 2nd Edition. 2003. Wheeling, Illinois, USA: Harlan Davidson Inc. Pp. 118.</ref> การศึกษาทางทหารกลายมาเป็นองค์ประกอบศูนย์กลางของพลศึกษาเพื่อเตรียมพร้อมชาวเยอรมันในการสงครามทั้งทางจิตใจ จิตวิญญาณ และร่างกาย<ref name="German Psychological Warfare"/> ตำราเรียนวิทยาศาสตร์นำเสนอ[[การคัดเลือกโดยธรรมชาติ]]ในแง่ที่เน้นมโนทัศน์ความบริสุทธิ์ของเชื้อชาติ<ref name="Bowen 1981"/>

นโยบายต่อต้านยิวนำไปสู่การขับครู ศาสตราจารย์และเจ้าหน้าที่ชาวยิวทั้งหมดจากระบบการศึกษาในปี 1933 ครูที่ไม่พึงปรารถนาทางการเมือง เช่น นักสังคมนิยม ถูกขับเช่นกัน โดยเป็นส่วนหนึ่งของ "กฎหมายเพื่อการฟื้นฟูรัฐการพลเรือน" ครูส่วนมากถูกกำหนดให้เป็นสมาชิกของสมาคมครูชาติสังคมนิยม" ศาสตราจารย์มหาวิทยาลัยทุกคนถูกกำหนดให้เป็นสมาชิกน่าเชื่อถือของสมาคมผู้บรรยายมหาวิทยาลัยชาติสังคมนิยม<ref name="philosophy"/>

วิธีการสอนที่ระบอบชาติสังคมนิยมสนับสนุนนั้นเป็นเชิงประสบการณ์และมีประสิทธิภาพในการแนะแนว อย่างไรก็ดี ส่วนใหญ่เป็นการต่อขยายทัศนคติต่อต้านสติปัญญาของผู้นำนาซี และมิใช่ความพยายามหลักเพื่อทดลองกับวิธีการคำสอน

ในการแสวงหนทางเพื่อให้การศึกษาเป็นนามธรรมลดลง ใช้สติปัญญาลดลงและห่างไกลจากเด็กลดลง นักการศึกษาจึงเรียกร้องให้บทบาทภาพยนตร์ขยายขึ้นมาก ไรช์ซฟิลมินเทนดันท์และหัวหน้าส่วนภาพยนตร์ในกระทรวงโฆษณาการ ฟริทซ์ ฮิพเพลอร์ เขียนว่า ภาพยนตร์กระทบต่อประชาชน "ส่วนใหญ่ในระดับสายตาและอารมณ์ นั่นคือ ระดับที่ไม่ใช่สติปัญญา"<ref name="entertainment"/> ผู้นำนาซียังมองภาพยนตร์ว่าเป็นสื่อที่ตนสามารถพูดคุยกับเด็กได้โดยตรง ดร. แบร์นฮาร์ด รุสท์ มองภาพยนตร์ว่าเป็นเครื่องมือสำคัญ โดยกล่าวว่า "รัฐชาติสังคมนิยมทำให้ภาพยนตร์เป็นเครื่องส่งอุดมการณ์ของรัฐอย่างแน่นอนและโดยไตร่ตรอง"<ref name="stewart"/>

=== สวัสดิภาพสังคม ===
งานวิจัยล่าสุดโดยนักวิชาการเช่นเกิทซ์ อาลือ ได้เน้นบทบาทของโครงการสวัสดิภาพสังคมขนานใหญ่ของนาซีซึ่งมุ่งจัดหางานแก่พลเมืองเยอรมันและประกันมาตรฐานการครองชีพขั้นต่ำสุด ที่มุ่งเน้นอย่างหนัก คือ ความคิดชุมชนสัญชาติเยอรมันหรือ[[โฟลค์ซเกไมน์ชัฟท์]]{{sfn|Grunberger|1971|p=18}} เพื่อช่วยเพิ่มความรู้สึกของชุมชน ประสบการณ์กรรมกรและความบันเทิงของชาวเยอรมัน จากเทศกาล ถึงการเดินทางวันหยุดและโรงหนังกลางแปลง ทั้งหมดเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ "[[ความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง]]" (Kraft durch Freude, KdF) การนำบริการกรรมกรแห่งชาติ (National Labour Service) และองค์การ[[ยุวชนฮิตเลอร์]]ไปปฏิบัติโดยบังคับให้เป็นสมาชิกสำคัญต่อการสร้างความจงรักภักดีและมิตรภาพ นอกเหนือจากนี้ ยังมีการดำเนินโครงการสถาปัตยกรรมจำนวนหนึ่ง คาเดเอฟสร้างคาเดเอฟวาเกน ที่ภายหลังรู้จักกันในชื่อ [[โฟล์คสวาเกน|โฟล์คซกาเวน]] ("รถของประชาชน") ซึ่งได้รับการออกแบบมาให้เป็นรถยนต์ที่พลเมืองเยอรมันทุกคนสามารถซื้อได้ เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองปะทุ รถดังกล่าวถูกแปลงเป็นพาหนะทางทหารและการผลิตฝ่ายพลเรือนถูกหยุดลง อีกโครงการแห่งชาติหนึ่ง คือ การก่อสร้างเอาโทบาน เป็นระบบถนนไม่จำกัดความเร็วแห่งแรกของโลก

การรณรงค์[[บรรเทาฤดูหนาว]]ไม่เพียงเป็นการรวบรวมเงินบริจาคแก่ผู้อาภัพเท่านั้น แต่ยังเป็นเสมือนพิธีกรรมเพื่อสร้างอารมณ์สาธารณะ{{sfn|Grunberger|1971|p=79}} ส่วนหนึ่งของการรวมศูนย์อำนาจนาซีเยอรมนี ใบปิดประกาศกระตุ้นให้ประชาชนบริจาคแทนที่จะให้ขอทานโดยตรง<ref name="conscience"/>

=== สาธารณสุข ===
นาซีเยอรมนีให้ความสำคัญด้านสาธารณสุขอย่างมาก ต่างจากที่หลายคนเข้าใจ<ref name="สาธารณสุข">[http://www.adl.org/Braun/dim_14_1_nazi_med.asp แพทยศาสตร์และนโยบายด้านสาธารณสุขของนาซีเยอรมนี] {{en icon}}</ref> จากการศึกษาวิจัยของโรเบิร์ต เอ็น. พร็อกเตอร์ ในหนังสือ ''The Nazi War on Cancer'' ของเขา<ref name = "adl.org-Proctor">[http://www.adl.org/Braun/dim_14_1_nazi_med.asp Nazi Medicine and Public Health Policy] Robert N. Proctor, Dimensions: A Journal of Holocaust Studies.</ref><ref name = "Dowbiggin-Cancer">[http://findarticles.com/p/articles/mi_qa3686/is_200108/ai_n8961328 Review of "The Nazi War on Cancer"] Canadian Journal of History, Aug 2001 by Ian Dowbiggin</ref> นาซีเยอรมนีอาจเป็นประเทศที่[[การรณรงค์งดสูบบุหรี่ในนาซีเยอรมนี|มีการต่อต้านบุหรี่อย่างหนักที่สุดในโลก]]ก็ว่าได้ คณะวิจัยเกี่ยวกับโทษของบุหรี่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลอย่างแข็งขัน<ref name=ADLNMPHP>{{citation|last=Proctor|first=Robert N.|title=Nazi Medicine and Public Health Policy|publisher=''Dimensions'', Anti-Defamation League|year=1996|url=http://www.adl.org/Braun/dim_14_1_nazi_med.asp}}</ref> และนักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันสามารถพิสูจน์ได้ว่าควันพิษจากบุหรี่ก่อให้เกิด[[โรคมะเร็ง]]เป็นครั้งแรกของโลก<ref name=BMJATCNLKAPHG>{{citation|url=http://www.bmj.com/cgi/content/full/313/7070/1450|title=The anti-tobacco campaign of the Nazis: a little known aspect of public health in Germany, 1933-45|author=Robert N. Proctor, Pennsylvania State University|accessdate=2008-06-01|journal=British Medical Journal|volume=313 |issue=7070 |pages=1450–3|pmid=8973234 |pmc=2352989}}</ref><ref name="NWC173">{{citation|last=Proctor|first=Robert N.|title=Nazi Medicine and Public Health Policy|publisher=''Dimensions''|p=173}}</ref><ref name=OANFRIPH>{{citation|url=http://ije.oxfordjournals.org/cgi/content/full/34/3/537|title=Odol, Autobahne and a non-smoking Führer: Reflections on the innocence of public health|author=Johan P. Mackenbach|accessdate=2008-06-01|journal=International Journal of Epidemiology|volume=34 |issue=3 |pages=537–9 |year=2005|pmid=15746205|month=June}}</ref><ref name="SGHS328">{{citation | last = Gilman | first = Sander L. | last2 = Zhou | first2 = Xun | year = 2004 | title = Smoke: A Global History of Smoking | publisher = Reaktion Books | ID = ISBN 1-86189-200-4 | p=328}}</ref> ต่อมา การวิจัยบุกเบิกด้านระบาดวิทยาเชิงทดลองนำไปสู่งานวิจัยโดยฟรันซ์ ฮา มึลเลอร์ในปี 1939 และงานวิจัยโดยเอเบอร์ฮาร์ด ไชแรร์ และเอริช เชอนีแกร์ในปี 1943 ซึ่งแสดงให้เห็นแน่ชัดว่าการสูบบุหรี่เป็นสาเหตุหลักของมะเร็งปอด<ref>{{citation | last = Young | first = T. Kue | year = 2005 | title = Population Health: Concepts and Methods | publisher = Oxford University Press | ID = ISBN 0-19-515854-7 | p = 252}}</ref> รัฐบาลกระตุ้นให้แพทย์ชาวเยอรมันให้คำปรึกษาแก่ผู้ป่วยต่อต้านการสูบบุหรี่ การวิจัยของเยอรมนีต่ออันตรายของบุหรี่เงียบหายไปหลังสงครามยุติ และอันตรายของบุหรี่กลับมาถูกค้นพบอีกโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกันและอังกฤษในต้นคริสต์ทศวรรษ 1950<ref name="สาธารณสุข"/> โดยมีความลงรอยทางการแพทย์เกิดขึ้นในต้นคริสต์ทศวรรษ 1960

นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันยังพิสูจน์ว่า[[แร่ใยหิน]]มีอันตรายต่อสุขภาพ และในปี 1943 เยอรมนีรับรองโรคที่เกิดจากใยหิน เช่น มะเร็งปอด เป็นโรคจากการประกอบอาชีพที่มีคุณสมบัติได้รับเงินชดเชย ซึ่งนับเป็นชาติแรกในโลกที่เสนอประโยชน์นี้

ในส่วนหนึ่งของการรณรงค์สาธารณสุขทั่วไปในนาซีเยอรมนี น้ำประปาถูกทำให้สะอาดขึ้น ตะกั่วและปรอทถูกนำออกจากสินค้าผู้บริโภค และสตรีถูกกระตุ้นให้เข้ารับการตรวจ[[มะเร็งเต้านม]]เป็นประจำ<ref name = "adl.org-Proctor"/><ref name = "Dowbiggin-Cancer"/>

ระบบสาธารณสุขของนาซียังถือเป็นแนวคิดกลางของมโนทัศน์[[สุพันธุศาสตร์]] คนบางกลุ่มถูกมองว่าเป็นพวก "ด้อยพันธุ์" และตกเป็นเป้าถูกกำจัดผ่านการทำหมันผ่านคำสั่งศาลอนามัยวงศ์ตระกูล (''Erbgesundheitsgericht'') หรือถูกฆ่าหมดสิ้นด้วย[[อัคซีโยน เท4|มาตรการ T4]] ผู้เชี่ยวชาญข้อมูลทางการแพทย์ใช้ขบวนการและเทคโนโลยีใหม่ เช่น ระบบบัตรเจาะรูและการวิเคราะห์ราคา เพื่อช่วยในขบวนการและคำนวณประโยชน์ต่อสังคมจากการฆ่าเหล่านี้<ref name="university"/>(

=== นโยบายเชื้อชาติ ===

เป็นที่ประจักษ์ว่าชุมชนยิวในเยอรมนีเป็นเป้าแห่งความเกลียดชังตั้งแต่การปราศรัยและงานเขียนแรก ๆ ของฮิตเลอร์ อุดมการณ์นาซีวางกฎเข้มงวดเกี่ยวกับว่าใครเป็นหรือไม่เป็นสายเลือด "อารยัน" บริสุทธิ์ มีการกำหนดการปฏิบัติเพื่อทำให้เชื้อชาติอารยันบริสุทธิ์ ซึ่งกล่าวกันว่าเป็นหนึ่งเดียวกับ[[เชื้อชาตินอร์ดิก]] ตามด้วยเชื้อชาติรองที่เล็กกว่าของเชื้อชาติอารยันเพื่อเป็นตัวแทนของเชื้อชาติปกครองที่เป็นอุดมคติและบริสุทธิ์ ผลของนโยบายสังคมนาซีในเยอรมนีแบ่งแยกระหว่างผู้ที่ถูกมองว่าเป็น "อารยัน" กับ "มิใช่อารยัน" ยิว หรือส่วนหนึ่งของกลุ่มชนกลุ่มน้อยอื่น สำหรับเชื้อชาติอารยัน การดำเนินโยบายสังคมจำนวนมากที่เอื้อประโยชน์ต่อคนกลุ่มนี้โดยระบอบนาซีเพิ่มขึ้นตามกาล รวมถึงการคัดค้านการสูบบุหรี่โดยรัฐ การล้างมลทินแก่เด็กอารยันที่เกิดแก่บิดามารดานอกสมรส เช่นเดียวกับการให้ความช่วยเหลือด้านการเงินแก่ครอบครัวเยอรมันอารยันที่ให้กำเนิดบุตร<ref name=Biddiscombe>Perry Biddiscombe "Dangerous Liaisons: The Anti-Fraternization Movement in the US Occupation Zones of Germany and Austria, 1945-1948", Journal of Social History 34.3 (2001) 611-647</ref> วันที่ 1 เมษายน 1933 ฮิตเลอร์ประกาศคว่ำบาตรสถานประกอบธุรกิจยิวทั้งประเทศ ครอบครัวยิวจำนวนมากเตรียมตัวออกนอกประเทศ แต่อีกหลายครอบครัวหวังว่าการดำรงชีพของพวกตนและทรัพย์สินจะปลอดภัย เพราะตนเป็นพลเมืองเยอรมัน

พรรคนาซีดำเนินนโยบายเชื้อชาติและสังคมผ่านการเบียดเบียนและการสังหารผู้ที่ถูกมองว่าเป็นผู้ที่สังคมไม่พึงปรารถนาหรือ "ศัตรูแห่งไรช์" ที่ตกเป็นเป้าพิเศษ คือ ชนกลุ่มน้อยเช่น ยิว [[โรมานี]] (หรือยิปซี) ผู้นับถือพยานพระยะโฮวาห์<ref>[http://www.ushmm.org/wlc/article.php?lang=en&ModuleId=10005394 United States Holocaust Memorial Museum]{{cite web | url = http://www.ushmm.org/wlc/article.php?lang=en&ModuleId=10005394 | title = ushmm.org | accessdate = 2007-08-15 | publisher = }}</ref> ผู้ที่มีความพิการทางจิตหรือทางกาย และพวก[[รักร่วมเพศ]] ในคริสต์ทศวรรษ 1930 แผนเพื่อโดดเดี่ยวและกำจัดยิวอย่างสมบูรณ์ในเยอรมนีท้ายสุด เริ่มจากการก่อสร้าง{{ไม่ตัดคำ|[[เกตโตในทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของนาซี|เกตโต]]}} ค่ายกักกัน และค่ายใช้แรงงาน โดยมีการก่อสร้าง[[ค่ายกักกันดาเชา]]เป็นแห่งแรกในปี 1933 เมื่อไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์อธิบายอย่างเป็นทางการว่าเป็น "ค่ายกักกันศัตรูทางการเมืองแห่งแรก" <ref>จากหน้า http://www.mazal.org/archive/DACHPHO/Dach02.htm ซึ่งสามารถแปลได้ว่า: ''"หัวหน้าหน่วย[[ตำรวจ]]แห่งกรุง[[มิวนิก]], ฮิมม์เลอร์, ได้ออกประกาศตามหน้าหนังสือพิมพ์ว่า: เมื่อวันพุธที่ผ่านมา ค่ายกักกันแห่งแรกได้เปิดใช้งานที่ดาเชาโดยจัดให้มีนักโทษกว่า 5,000 คน ซึ่งทั้งหมดเป็นพวกคอมมิวนิสต์และพวกไรช์บันเนอร์และเจ้าหน้าที่พรรคสังคมประชาธิปไตยผู้ซึ่งได้คุกคามความปลอดภัยของรัฐจะถูกจับกุมด้วยถ้าจำเป็น ซึ่งในระยะยาวแล้วมันเป็นไปไม่ได้ที่จะเก็บตัวนักโทษให้แยกจากกันในเรือนจำของรัฐ และบุคคลเหล่านี้ไม่สามารถถูกปล่อยตัวได้เนื่องจากความพยายามของพวกเขาที่จะยืนกรานและเจตนาที่จะสร้างความวุ่นวายในประเทศ ทันทีที่พวกเขาได้รับการปล่อยตัว"''</ref>

[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 146-1970-083-42, Magdeburg, zerstörtes jüdisches Geschäft.jpg|thumb|230px|ร้านค้าที่ยิวเป็นเจ้าของกิจการถูกทำลายย่อยยับในเหตุการณ์คริสทัลล์นัคท์]]
ช่วงปีหลังนาซีเถลิงอำนาจ ยิวหลายคนถูกกระตุ้นให้เดินทางออกนอกประเทศและทำเช่นนั้น ในปี 1935 มีการตรา[[กฎหมายเนือร์นแบร์ก]]ขึ้น มีใจความเพิกถอนสัญชาติเยอรมันของยิว และปฏิเสธการจ้างงานภาครัฐ ขณะนี้ชาวยิวส่วนมากที่ชาวเยอรมันว่าจ้างเสียตำแหน่งงาน ซึ่งถูกแทนที่โดยชาวเยอรมันที่ว่างงาน นอกจากนี้ การสมรสระหว่างยิวกับอารยันถูกห้าม ยิวสูญเสียสิทธิเพิ่มขึ้นในช่วงอีกไม่กี่ปีถัดมา ยิวถูกแยกออกไปจากหลายวิชาชีพ และมิให้จับจ่ายซื้อของในร้านค้าจำนวนมาก หลายเมืองติดป้ายห้ามมิให้ยิวเข้า ที่โดดเด่น คือ ความพยายามของรัฐบาลในการส่งชาวยิวเยอรมันที่มีเชื้อสายโปแลนด์ 17,000 คนกลับประเทศโปแลนด์ จนทำให้ในเดือนพฤศจิกายน 1938 แฮร์เชล กรึนซพัน ชายหนุ่มชาวยิวในกรุงปารีส ลอบสังหารแอร์นสท์ ฟอม รัท เอกอัครราชทูตเยอรมัน เพื่อเป็นการประท้วงการปฏิบัติต่อครอบครัวของเขาในเยอรมนี พรรคนาซีใช้ความพยายามดังกล่าวปลุกปั่นให้เกิดความเกลียดชังชุมชนยิวในเยอรมนี เป็นบริบทของ[[โพกรม]]เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 1938 ซึ่งเจาะจงธุรกิจยิวเป็นพิเศษ เอสเอได้รับมอบหมายให้โจมตี[[สุเหร่ายิว]]และทรัพย์สินของยิวทั่วประเทศเยอรมนี ระหว่าง[[คืนกระจกแตก|คริสทัลล์นัคท์]] ("คืนกระจกแตก" หรือความหมายตามตัวอักษรว่า คืนคริสตัล) เหตุที่ใช้การเกลื่อนคำดังกล่าวเพราะหน้าต่างที่แตกจำนวนมากทำให้ถนนมองดูเหมือนปกคลุมด้วยคริสตัล เหตุการณ์นี้ทำให้มีชาวยิวเยอรมันเสียชีวิตอย่างน้อย 91 คน และทรัพย์สินยิวถูกทำลายถ้วนหน้า การกีดกันระยะนี้ทำให้เป็นที่ชัดเจนมากว่ายิวในเยอรมนีจะเป็นเป้าหมายในอนาคต เพื่อให้เห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น ชุมชนยิวถูกปรับหนึ่งล้านมาร์คและได้รับการบอกกล่าวว่า พวกเขาจะไม่ได้รับเงินตอบแทนจากความสูญเสีย จนถึงเดือนกันยายน 1939 ยิวกว่า 200,000 คนเดินทางออกนอกประเทศเยอรมนี โดยรัฐบาลยึดทรัพย์สินใด ๆ ที่พวกเขาทิ้งไว้เบื้องหลัง

นาซียังดำเนินโครงการที่พุ่งเป้าไม่ยังผู้ที่ "อ่อนแอ" หรือ "ไม่มีสมรรถภาพ" เช่น โครงการ[[อัคซีโยน เท4|การุณยฆาตเท4]] ซึ่งคร่าชีวิตผู้พิการและชางเยอรมันที่ป่วยหลายหมื่นคน ในความพยายามที่จะ "ธำรงความบริสุทธิ์ของเชื้อชาติปกครองอารยัน" ({{lang-de|Herrenvolk}}) ดังที่นักโฆษณาของนาซีอธิบาย เทคนิคการสังหารจำนวนมากที่พัฒนาในความพยายามเหล่านี้ภายหลังถูกใช้ใน[[ฮอโลคอสต์]] ภายใต้กฎหมายที่ผ่านในปี 1933 ระบอบนาซีดำเนินการบังคับทำหมันปัจเจกบุคคล 400,00 คน ที่ถูกหมายว่ามีความบกพร่องทางพันธุกรรม ซึ่งมีตั้งแต่การป่วยทางจิตไปจนถึงติดแอลกอฮอล์

อีกส่วนประกอบของโครงการสร้างความบริสุทธิ์ทางเชื้อชาติของนาซี คือ [[เลเบนซบอร์น]] หรือ "น้ำพุแห่งชีวิต" ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี 1935 โครงการดังกล่าวมีเป้าหมายเพื่อกระตุ้นให้ทหารเยอรมัน หรือเอสเอสเป็นหลัก สืบพันธุ์ ซึ่งรวมถึงการเสนอบริหารสนับสนุนครอบครัวเอสเอส (รวมถึงการรับเลี้ยงเด็กที่มีเชื้อชาติบริสุทธิ์เข้าสู่ครอบครัวเอสเอสที่เหมาะสม) และจัดหาที่อยู่ให้สตรีที่มีคุณค่าทางเชื้อชาติ ที่ตั้งครรภ์เด็กของชายเอสเอสเป็นหลัก ในสถานพักฟื้นในเยอรมนีและทั่วยุโรปที่ถูกยึดครอง เลเบนซบอร์นยังขยายไปครอบคลุมการฝากเด็กที่มีเชื้อชาติบริสุทธิ์ที่บังคับยึดมาจากประเทศที่ถูกยึดครอง เช่น โปแลนด์ กับครอบครัวชาวเยอรมัน

ในปี 1941 เยอรมนีตัดสินใจทำลายชาติโปแลนด์อย่างสมบูรณ์และผู้นำเยอรมันตัดสินใจว่าในอีก 10 ถึง 20 ปี ชาวโปแลนด์ในรัฐโปแลนด์ภายใต้การยึดครองของเยอรมนีจะถูกกวาดล้างอย่างสมบูรณ์ และให้ผู้อยู่ในนิคมชาวเยอรมันเข้าไปตั้งถิ่นฐานแทน<ref name="Germans and Poles 1871–1945"/> นาซีมองว่า ยิว ชาวโรมานี ชาวโปแลนด์อยู่ในกลุ่มเดียวกับชนสลาฟ เช่น [[ชาวรัสเซีย]] [[ชาวยูเครน]] [[ชาวเช็ก]] และอีกหลายเชื้อชาติที่มิใช่ "ชาวอารยัน" ตามศัพทวิทยาเชื้อชาตินาซีร่วมสมัยเป็น[[อุนแทร์เมนเชน]](''Untermensch-''"ต่ำกว่ามนุษย์") แม้ชนสลาฟจำนวนมากจะถูกมองและได้รับการยอมรับว่าเป็นชาวอารยัน นาซีใช้เหตุผลตัดสินว่าชาวอารยันมีสิทธิทางชีววิทยาในการแทนที่ กำจัดและจับผู้ที่ด้อยกว่าเป็นทาส<ref name="neu"/><ref name="hanover"/> หลังสงคราม ภายใต้ "แผนใหญ่" [[เจเนรัลพลันโอสท์]] ({{lang-de|Generalplan Ost}}) คาดการณ์การเนรเทศประชากรที่ไม่สามารถถูกแผลงเป็นเยอรมัน (non-Germanizable) 45 ล้านคนจากยุโรปตะวันออกไปยังไซบีเรียตะวันตกล่วงหน้า<ref name="anthropology"/> และราว 14 ล้านคนจะยังอยู่ แต่จะถูกปฏิบัติเหมือนทาส<ref name="madajczyk"/><ref name="google19"/> ส่วนชาวเยอรมันจะตั้งถิ่นฐานแทนที่ในเลเบินส์เราม์ที่ต่อขยายไปของจักรวรรดิพันปี<ref name="JPop186"/>

[[แฮร์แบร์ท บาเคอ]]เป็นหนึ่งในผู้อยู่เบื้องหลัง[[แผนความหิว]] (Hunger Plan) ซึ่งเป็นแผนให้ชนสลาฟหลายสิบล้านคนอดอยากเพื่อประกันเสบียงอาหารแก่ประชาชนและทหารเยอรมัน<ref name="destruction"/> ในระยะยาว นาซีต้องการกำจัดชนสลาฟราว 30–45 ล้านคน<ref name="google21"/> ตามข้อมูลของมิคาเอล ดอร์แลนด์ "ดังที่นักประวัติศาสตร์เยล ทีโมธี ซไนเดอร์เตือนเรา หากนาซีประสบความสำเร็จในสงครามกับรัสเซีย การนำอีกสองมิติของฮอโลคอสต์ไปปฏิบัติ แผนความหิวและเจเนรัลพลันโอสท์ จะนำไปสู่การกำจัดคนอีก 80 ล้านคนในเบลารุส รัสเซียเหนือและสหภาพโซเวียตผ่านความอดอยาก"<ref name="google22"/>

[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 183-N0827-318, KZ Auschwitz, Ankunft ungarischer Juden.jpg|thumb|230px|ชาวยิวฮังการีที่จะถูกสังหารในห้องรมแก๊ส (พฤษภาคม 1944)]]
ต้นสงครามโลกครั้งที่สอง ทางการเยอรมนีในเจเนรัลกออูแวร์เนเมนท์ในโปแลนด์ที่ถูกยึดครองสั่งให้ยิวทุกคนถูกบังคับใช้แรงงาน และผู้ที่ด้อยสมรรถภาพทางกาย เช่น หญิงและเด็ก ถูกกักกันอยู่ในเกตโต{{sfn|Kershaw|2000|p=111}} สำหรับนาซีแล้ว มีหลายแนวคิดปรากฏขึ้นว่าจะตอบ "[[ปัญหาชาวยิว]]" อย่างไร วิธีหนึ่ง คือ การบังคับเนรเทศยิวขนานใหญ่ อดอล์ฟ ไอชมันน์เสนอให้ยิวถูกบังคับอพยพไปยัง[[ปาเลสไตน์]]{{sfn|Kershaw|2000|p=111}} ฟรันซ์ ราเดมาแคร์เสนอให้ยิวถูกเนรเทศไปยัง[[มาดากัสการ์]] ข้อเสนอนี้ได้รับการสนับสนุนโดยฮิมม์เลอร์ และมีการถกโดยฮิตเลอร์และผู้เผด็จการอิตาลี [[เบนิโต มุสโสลินี]] แต่ภายหลังล้มเลิกไปเพราะเป็นไปไม่ได้ในทางปฏิบัติเมื่อปี 1942{{sfn|Kershaw|2000|p=111}} ความคิดการเนรเทศต่อเนื่องไปยังโปแลนด์ที่ถูกยึดครองถูกผู้ว่าการ [[ฮันส์ ฟรังค์]]แห่งเจเนรัลกออูแวร์เนเมนท์ ปฏิเสธ เพราะแฟรงค์ปฏิเสธจะยอมรับการเนรเทศยิวมาเพิ่มยังดินแดนที่มียิวจำนวนมากอยู่แล้ว{{sfn|Kershaw|2000|p=111}} ในปี 1942 ที่[[การประชุมวันน์เซ]] เจ้าหน้าที่นาซีตัดสินใจกำจัดยิวทั้งหมด ดังที่อภิปราย "[[การแก้ปัญหาชาวยิวครั้งสุดท้าย]]" ค่ายกักกันเช่นเอาชวิทซ์ ถูกแปลงและใช้ห้องรมแก๊สเพื่อสังหารยิวให้มากที่สุดเท่าที่ทำได้ จนถึงปี 1945 ค่ายกักกันจำนวนหนึ่งถูกกองทัพสัมพันธมิตรปลดปล่อย และพวกเขาพบว่าผู้รอดชีวิตขาดอาหารอย่างรุนแรง ฝ่ายสัมพันธมิตรยังพบหลักฐานว่า นาซีค้ากำไรจากการสังหารหมู่ยิวไม่เพียงแต่โดยการยึดทรัพย์สินและสิ่งของมีค่าส่วนบุคคลแล้ว แต่ยังโดยการแยกสารอุดฟันทองคำจากร่างของยิวบางคนที่ถูกขังในค่ายกักกันด้วย

=== บทบาทของสตรีและครอบครัว ===
สตรีในนาซีเยอรมนีเป็นนโยบายสังคมเสาหลักของนาซี นาซีคัดค้านขบวนการ[[คตินิยมสิทธิสตรี]] โดยอ้างว่ามีวาระฝ่ายซ้าย เทียบได้กับลัทธิคอมมิวนิสต์ และแย่สำหรับทั้งหญิงและชาย ระบอบนาซีสนับสนุน[[สังคมอำนาจฝ่ายบิดา]] ขณะที่สตรีเยอรมันจะรับรองว่า "โลกเป็นสามีของเธอ ครอบครัวของเธอ ลูกของเธอและบ้านของเธอ"<ref name="www_spartacus_schoolnet_co_uk"/> ฮิตเลอร์อ้างว่า การที่สตรียึดอาชีพสำคัญจากบุรุษระหว่างภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่นั้นเป็นผลเสียต่อครอบครัวในทางเศรษฐกิจ เพราะสตรีได้รับค่าจ้างเพียง 66% ของที่บุรุษได้รับ<ref name="www_spartacus_schoolnet_co_uk"/> รัฐบาลเรียกร้องให้สตรีสนับสนุนรัฐในกิจการสตรีอย่างแข็งขัน พร้อมกับเรียกร้องให้สตรีเลิกทำงานนอกบ้าน ในปี 1933 ฮิตเลอร์แต่งตั้งแกร์ทรุด ชอลทซ์-คลิงก์เป็นผู้นำสันนิบาตสตรีชาติสังคมนิยม ซึ่งสอนสตรีว่าบทบาทหลักของพวกเธอในสังคม คือ ให้กำเนิดบุตรและสตรีจักรับใช้บุรุษ และเคยกล่าวว่า "ภารกิจของสตรีคือ จัดการสิ่งจำเป็นในชีวิตตั้งแต่การมีอยู่ขณะแรกจนขณะสุดท้ายของบุรุษในบ้านและในวิชาชีพ"<ref name="www_spartacus_schoolnet_co_uk"/> การคาดหมายนี้ยังใช้กับสตรีอารยันที่สมรสกับบุรุษยิว ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่จำเป็นใน[[การประท้วงโรเซนซทรัสเซอ]]ในปี 1943 ซึ่งสตรีเยอรมัน 1,800 คน กับญาติอีก 4,200 คน ทวงรัฐนาซีให้ปล่อยตัวสามียิวของพวกเธอ ฐานะนี้ยึดถือกันรุนแรงเสียจนทำให้การเกณฑ์สตรีรับงานสงครามระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองยากยิ่ง<ref name="democracy"/>

ระบอบนาซีกีดกันสตรีมิให้แสวงการศึกษาระดับสูงขึ้นในโรงเรียนมัธยมศึกษา มหาวิทยาลัยและวิทยาลัย จำนวนสตรีที่ได้รับอนุญาตให้ลงทะเบียนเรียนในมหาวิทยาลัยลดลงมากภายใต้ระบอบนาซี คือ จากประมาณ 128,000 คนในปี 1933 ลดเหลือ 51,000 คนในปี 1938 การลงทะเบียนเรียนของสตรีในโรงเรียนมัธยมศึกษาก็ลดลงจาก 437,000 คนในปี 1926 เหลือ 205,000 คนในปี 1937 อย่างไรก็ดี ด้วยการกำหนดให้ชายถูกเกณฑ์เข้าสู่กองทัพเยอรมันระหว่างสงคราม เมื่อถึงปี 1944 สตรีจึงคิดเป็นครึ่งหนึ่งของการลงทะเบียนเรียนในระบบการศึกษา<ref name="totalitarianism"/>

อีกด้านหนึ่ง สตรีถูกคาดหวังให้แข็งแรง มีสุขภาพดีและมีชีวิตชีวา ภาพถ่ายคำบรรยายใต้ภาพว่า "อนาคตมารดา" แสดงวัยรุ่นหญิงแต่งกายเล่นกีฬาและถือแหลน<ref name="dictators28"/> สตรีชาวนาที่แข็งแกร่ง ซึ่งทำงานกับดินและให้กำเนิดบุตรที่แข็งแรง เป็นอุดมคติ และเป็นสาเหตุของการยกย่องสตรีคล้ายนักกีฬาที่ผิวเป็นสีแทนเพราะทำงานกลางแจ้ง{{sfn|Rupp|1978|pp=45–46}}

[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 183-2000-0110-500, BDM, Gymnastikvorführung.jpg|thumb|left|230px|สมาชิกของ[[สันนิบาตสาวเยอรมัน]]กำลังฝึกยิมนาสติกในปี 1941]]
มีการจัดตั้งองค์การเพื่อปลูกฝังค่านิยมนาซีแก่สตรีเยอรมัน องค์การเหล่านี้อาทิ สันนิบาตเด็กหญิง (''Jungmädelbund'') สำหรับเด็กหญิงอายุตั้งแต่ 10 ถึง 14 ปี, [[สันนิบาตสาวเยอรมัน]] (''Bund Deutscher Mädel'') สำหรับเด็กสาววัย 14 ถึง 18 ปี เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีองค์กรอย่าง[[สันนิบาตสตรีชาติสังคมนิยม]] (''NS-Frauenschaft'') ที่สามารถตีพิมพ์นิตยสารของตนเองซึ่งเป็นนิตยสารสตรีเพียงเล่มเดียวที่ผ่านการอนุมัติในนาซีเยอรมนี<ref name="uni-heidelberg"/>

กิจกรรมของเบเดเอ็มครอบคลุมพลศึกษา รวมถึงการวิ่ง กระโดดไกล ตีลังกา เดินบนลวด และว่ายน้ำ{{sfn|Grunberger|1971|p=278}} ดัสดอยท์เชอแมเดลเน้นการผจญภัยน้อยกว่าแดร์พิมพฟ์ของเด็กชาย<ref name="material"/> แต่เน้นสตรีเยอรมันที่แข็งแรงและคล่องแคล่วกว่าในเอ็นเอส-เฟราเอน-วาร์เทอมาก{{sfn|Rupp|1978|p=45}} นอกจากนี้ ก่อนเข้างานอาชีพหรือการศึกษาระดับสูงใด ๆ เด็กหญิงต้องสำเร็จรัฐการทางบกก่อนหนึ่งปี เช่นเดียวกับเด็กชายในยุวชนฮิตเลอร์<ref name="Landdienst"/>

แม้บทบาทของสตรีในสังคมเยอรมันจะลดลงไปมาก แต่สตรีบางคนก็ยังมีบทบาทสำคัญ จนการยกย่องสรรเสริญและประสบความสำเร็จในชีวิต เช่น ฮันนา ไรท์ช นักบินประจำตัวฮิตเลอร์ และเลนี ไรเฟนสทาล ผู้กำกับภาพยนตร์และดารา

ในประเด็นกิจการทางเพศเกี่ยวกับสตรี บิดดิสคอมเบอแย้งว่า นาซีแตกต่างจากท่าทีจำกัดบทบาทของสตรีในสังคมอย่างมาก ระบอบนาซีสนับสนุนจรรยาบรรณเสรีนิยมที่คำนึงถึงประเด็นทางเพศ และเห็นใจสตรีที่เกิดลูกนอกสมรส<ref name="Biddiscombe2001"/> การล่มสลายของศีลธรรมคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในเยอรมนีถูกเร่งขึ้นระหว่างไรช์ที่สาม บางส่วนเป็นเพราะนาซี และส่วนใหญ่เนื่องมาจากผลของสงคราม การสำส่อนเพิ่มขึ้นมากเมื่อสงครามดำเนินไป ด้วยทหารที่ไม่แต่งงานมักสนิทสนมกับสตรีหลายคนพร้อมกัน สตรีที่สมรสแล้วมักข้องเกี่ยวกับความสัมพันธ์เชิงชู้สาวกับบุรุษหลายคนพร้อมกัน กับทั้งทหาร พลเรือนหรือผู้ใช้แรงงานทาส "หญิงดูแลไร่บางคนในเวือร์ทเทมแบร์กเริ่มใช้เพศสัมพันธ์เป็นโภคภัณฑ์แล้ว โดยจ่ายรสชาติเนื้อหนังมังสาเป็นวิธีการได้งานเต็มวันจากกรรมกรต่างด้าว"<ref name = "Biddiscombe2001"/> กระนั้น การโฆษณาชวนเชื่อนาซีคัดค้านการทำชู้และสนับสนุนความศักดิ์สิทธิ์ของการสมรสอย่างเปิดเผย<ref name="goddesses"/> ภาพยนตร์หลายเรื่องที่ถ่ายทำในสมัยนี้เปลี่ยนแปลงวัสดุที่มา ให้สตรีเผชิญความตายจากการละเมิดทางเพศแทนที่จะเป็นชาย สะท้อนให้เห็นว่าความผิดเป็นของใคร{{sfn|Grunberger|1971|p=382}} เมื่อมีความพยายามล้างมลทินแก่บุตรนอกกฎหมาย บ้านเลเบนซบอร์นถูกนำเสนอแก่สาธารณะสำหรับสตรีสมรสแล้ว{{sfn|Grunberger|1971|p=246}} ถ้อยแถลงต่อต้านการสมรสอย่างเปิดเผย เช่น ถ้อยแถลงของฮิมม์เลอร์เกี่ยวกับการดูแลเด็กนอกสมรสของทหารที่เสียชีวิต ได้รับการประท้วงเป็นเสียงตอบรับ<ref name="ghi-dc"/> อิลซา แมคคีหมายเหตุว่า การบรรยายของยุวชนฮิตเลอร์และเบเดเอ็มเกี่ยวกับความจำเป็นในการผลิตเด็กเพิ่มขึ้นเพิ่มจำนวนเด็กนอกกฎหมายอย่างมาก ซึ่งมารดาหรือบิดาที่เป็นไปได้ต่างไม่ถูกมองว่าเป็นปัญหา<ref name="intellectual"/>

การสมรสหรือความสัมพันธ์ทางเพศระหว่างบุคคลที่ถูกมองว่าเป็น "อารยัน" กับผู้ที่ไม่ถูกจัดเป็นรัสเนชันเดอถูกห้ามและมีบทลงโทษ อารยันที่ถูกตัดสินว่ามีความผิดอาจถูกนำตัวไปกักขังในค่ายกักกัน ขณะที่ผู้ที่มิใช่อารยันอาจเผชิญโทษประหารชีวิต มีจุลสารสั่งให้สตรีเยอรมันทุกคนหลีกเลี่ยงเพศสัมพันธ์กับกรรมกรต่างด้าวทั้งหมดที่นำเข้ามาในประเทศเยอรมนีว่าเป็นอันตรายต่อเลือดของพวกเธอ{{sfn|Rupp|1978|pp=124–125}}

[[การทำแท้ง]]ถูกลงโทษอย่างหนักในนาซีเยอรมนีเว้นเสียแต่อยู่บนเหตุผลของ "สาธารณสุขเชื้อชาติ" ตั้งแต่ปี 1943 นักรีดลูกเผชิญโทษประหารชีวิต<ref name="Abortion"/> การแสดงการคุมกำเนิดไม่ได้รับอนุญาต และฮิตเลอร์เองอธิบายการคุมกำเนิดว่าเป็น "การละเมิดธรรมชาติ เป็นการทำลายความเป็นหญิง ความเป็นแม่และความรัก"<ref name="History of Contraception"/>

=== สิ่งแวดล้อมนิยม ===
ในปี 1935 รัฐบาลนาซีตรากฎหมาย "รัฐบัญญัติคุ้มครองธรรมชาติไรช์" แม้มิใช่กฎหมายนาซีบริสุทธิ์ เพราะบางส่วนได้รับอิทธิพลมาก่อนนาซีเถลิงอำนาจ กระนั้นกฎหมายนี้ก็สะท้อนอุดมการณ์นาซี มโนทัศน์เดาแอร์วัลด์ (น่าจะแปลได้ว่า ป่านิรันดร์) ซึ่งรวมมโนทัศน์อย่างการจัดการป่า และการคุ้มครองได้รับการสนับสนุน ตลอดจนมีความพยายามจัดการกับมลพิษทางอากาศ<ref name="jhu"/><ref name="h-net"/>

ในทางปฏิบัติ กฎหมายและนโยบายที่ได้รับการตราเผชิญกับการขัดขืนจากหลายกระทรวงที่มุ่งบั่นทอนกฎหมายและนโยบายเหล่านี้ และจากลำดับความสำคัญที่ความพยายามของสงครามมาก่อนการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม

=== นโยบายการคุ้มครองสัตว์ ===
นาซีมีส่วนซึ่งสนับสนุนสิทธิสัตว์ สวนสัตว์และสัตว์ป่า<ref name="BHTFSN153"/> และดำเนินหลายมาตรการเพื่อประกันการคุ้มครองสัตว์<ref name="RA132"/> ในปี 1933 รัฐบาลตรากฎหมายคุ้มครองสัตว์ที่เข้มงวด<ref name="bmj"/><ref name="www_kaltio_fi5"/> ผู้นำพรรคนาซีหลายคน รวมทั้งฮิตเลอร์และเกอริง เป็นผู้สนับสนุนการคุ้มครองสัตว์ นาซีหลายคนเป็นนักสิ่งแวดล้อมนิยม (ที่โดดเด่น คือ [[รูดอล์ฟ เฮสส์]]) และการคุ้มครองสปีชีส์และสวัสดิภาพสัตว์เป็นประเด็นสำคัญในระบอบนาซี<ref name="NWC5"/> ฮิมม์เลอร์พยายามห้ามการล่าสัตว์{{sfn|Kitchen|2006|p=278}} เกอริงเป็นคนรักสัตว์และนักอนุรักษ์<ref name="HWJ79"/> กฎหมายสวัสดิภาพสัตว์ปัจจุบันในเยอรมนีก็รับมาจากกฎหมายที่ริเริ่มขึ้นในระบอบนาซี<ref name="RRNM92"/>

แม้มีการตรากฎหมายหลายฉบับเพื่อการคุ้มครองสัตว์ แต่ก็ขาดการบังคับใช้ ตามข้อมูลของพฟูแกร์สอาร์คิฟเฟือร์ไดเกซัมเทฟีซิโอโลจี (กรุสรีรวิทยาทั้งหมดพฟูแกร์ส) วารสารวิทยาศาสตร์ในขณะนั้น มีการทดลองกับสัตว์หลายการทดลองระหว่างระบอบนาซี<ref name="SCGG90"/> ระบอบนาซียุบองค์การไม่เป็นทางการจำนวนหนึ่งที่สนับสนุนสิ่งแวดล้อมนิยมและการคุ้มครองสัตว์ เช่น เฟรนด์สออฟเนเจอร์<ref name="Animals in the Third Reich: Pets, Scapegoats, and the Holocaust"/>

== วัฒนธรรม ==
== วัฒนธรรม ==
[[ไฟล์:1933-may-10-berlin-book-burning.JPG|right|230px|thumb|[[การเผาหนังสือโดยนาซี]]ในปี 1933 นาซีเผาผลงานที่ถูกมองว่า "ไม่เป็นเยอรมัน" ในกรุงเบอร์ลิน ได้แก่ หนังสือโดยผู้ประพันธ์ยิว คู่แข่งการเมือง และผลงานอื่นที่ไม่เป็นไปตามแนวอุดมการณ์นาซี]]
[[ไฟล์:1933-may-10-berlin-book-burning.JPG|right|230px|thumb|[[การเผาหนังสือโดยนาซี]]ในปี 1933 นาซีเผาผลงานที่ถูกมองว่า "ไม่เป็นเยอรมัน" ในกรุงเบอร์ลิน ได้แก่ หนังสือโดยผู้ประพันธ์ยิว คู่แข่งการเมือง และผลงานอื่นที่ไม่เป็นไปตามแนวอุดมการณ์นาซี]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:20, 24 มีนาคม 2562

วัฒนธรรม

การเผาหนังสือโดยนาซีในปี 1933 นาซีเผาผลงานที่ถูกมองว่า "ไม่เป็นเยอรมัน" ในกรุงเบอร์ลิน ได้แก่ หนังสือโดยผู้ประพันธ์ยิว คู่แข่งการเมือง และผลงานอื่นที่ไม่เป็นไปตามแนวอุดมการณ์นาซี
สนามกีฬาโอลิมปิกในกรุงเบอร์ลิน

ศิลปะ

ระบอบนาซีมุ่งฟื้นฟูค่านิยมดั้งเดิมในวัฒนธรรมเยอรมัน ศิลปวัฒนธรรมที่นิยามสมัยสาธารณรัฐไวมาร์ถูกปราบปราม ทัศนศิลป์ถูกเฝ้าสังเกตอย่างเข้มงวดและเป็นแบบประเพณี เน้นยกตัวอย่างแก่นเยอรมัน ความบริสุทธิ์ของเชื้อชาติ แสนยนิยม คตินิยมวีรบุรุษ อำนาจ ความเข้มแข็งและความเชื่อฟัง ศิลปะนามธรรมสมัยใหม่และศิลปะอาวองการ์ดถูกนำออกจากพิพิธภัณฑ์ และถูกจัดแสดงเป็นพิเศษว่าเป็น "ศิลปะเสื่อม" ที่ซึ่งผลงานเหล่านี้จะถูกเยาะหยัน ในตัวอย่างที่โดดเด่นครั้งหนึ่ง เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 1937 ฝูงชนขนาดใหญ่ยืนเข้าแถวเพื่อชมการจัดแสดงพิเศษ "ศิลปะเสื่อม" ในมิวนิก รูปแบบศิลปะที่ถูกมองว่าเสื่อม มีคติดาด บาศกนิยม ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ คติโฟวิสต์ ลัทธิประทับใจ ปรวิสัยใหม่ และลัทธิเหนือจริง วรรณกรรมที่เขียนโดยชาวยิว ชนที่มิใช่อารยันอื่น พวกรักร่วมเพศหรือผู้ประพันธ์ที่คัดค้านนาซีจะถูกรัฐบาลทำลาย การทำลายวรรณกรรมที่ฉาวโฉ่ที่สุด คือ การเผาหนังสือโดยนักเรียนเยอรมันในปี 1933

แม้ความพยายามอย่างเป็นทางการในการสร้างวัฒนธรรมเยอรมันบริสุทธิ์ พื้นที่หลักหนึ่งของศิลปะและสถาปัตยกรรมภายใต้การชี้นำส่วนตัวของฮิตเลอร์เป็นลัทธิคลาสสิกใหม่ ซึ่งเป็นรูปแบที่อิงสถาปัตยกรรมโรมโบราณ รูปแบบนี้ขัดและค้านรูปแบบสถาปัตยกรรมที่ใหม่กว่า เป็นเสรีนิยมกว่า และได้รับความนิยมกว่าในสมัยนั้นอย่างอลังการศิลป์ อาคารโรมันจำนวนมากได้รับการพิจารณาโดยสถาปนิกของรัฐ อัลแบร์ท ชเปียร์ สำหรับแบบสถาปัตยกรรมของอาคารรัฐ ชเปียร์ก่อสร้างอาคารขนาดมหึมาและโอ่อ่า เช่น ในลานชุมนุมพรรคนาซีในเนือร์นแบร์กและอาคารทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์หลังใหม่ในกรุงเบอร์ลิน แบบหนึ่งที่ไม่ได้สร้างจริงเป็นพาร์เธนอนในกรุงโรม เรียกว่า "โฟล์คชัลเลอ" เป็นศูนย์กลางกึ่งศาสนาของระบอบนาซีในกรุงเบอร์ลินที่เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "เยอรมาเนีย" ซึ่งจะเป็น "เมืองหลวงของโลก" (เวลเทาพท์สทัดท์) นอกจากนี้ ที่จะก่อสร้าง คือ ประตูชัยที่ใหญ่กว่าในกรุงปารีสหลายเท่า ซึ่งอาศัยแบบคลาสสิกเช่นกัน การออกแบบจำนวนมากสำหรับเยอรมาเนียไม่สามารถก่อสร้างได้จริง เพราะขนาดและดินเลนใต้กรุงเบอร์ลิน ภายหลัง วัสดุที่จะใช้ก่อสร้างถูกเปลี่ยนไปใช้ในความพยายามของสงครามแทน

ภาพยนตร์และสื่อ

ภาพยนตร์เยอรมันแห่งยุคส่วนมากตั้งใจให้เป็นผลงานการบันเทิงเป็นหลัก การนำเข้าภาพยนตร์ถูกกฎหมายห้ามหลังปี 1936 และอุตสาหกรรมเยอรมัน ซึ่งถูกโอนเป็นของรัฐในปี 1937 จำต้องชดเชยสำหรับภาพยนตร์ต่างประเทศที่ขาดไป การบันเทิงยิ่งทวีความสำคัญยิ่งขึ้นในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อโรงภาพยนตร์เป็นสิ่งหย่อนใจจากการทิ้งระเบิดของฝ่ายสัมพันธมิตรและความพ่ายแพ้ติด ๆ กันของเยอรมนี ในปี 1943 และ 1944 การยอมรับโรงภาพยนตร์ในเยอรมนีเกินหนึ่งพันล้าน[1] และภาพยนตร์ที่ทำรายได้สูงสุดยามสงคราม คือ ดีกรอเซอลีเบอ (1942) และวุนชคอนแซร์ท (1941) ซึ่งทั้งสองเรื่องประกอบด้วยส่วนที่เป็นดนตรี นิยายวีรคติยามสงครามและโฆษณาชวนเชื่อรักชาติ เฟราเอนซินด์ดอคเบสเซเรอดีโพลมาเทน (1941) ดนตรีตลกซึ่งเป็นหนึ่งในภาพยนตร์สีเรื่องแรก ๆ ของเยอรมนี และวีนแนร์บลุท (1942) การดัดแปลงจุลอุปรากรตลกของโยฮันน์ สเทราสส์ ความสำคัญของโรงภาพยนตร์ในฐานะเครื่องมือของรัฐ ทั้งคุณค่าการโฆษณาชวนเชื่อ และความสามารถในการทำให้ประชาชนได้รับความบันเทิงอย่างต่อเนื่อง พบเห็นได้ในประวัติการถ่ายทำภาพยนตร์ โคลแบร์ก (1945) ของไฟท์ ฮาร์ลัน ภาพยนตร์ที่แพงที่สุดแห่งยุค สำหรับการถ่ายทำ ซึ่งทหารหลายหมื่นนายถูกเปลี่ยนจากตำแหน่งทางทหารมาแสดงเป็นตัวประกอบ[2]

แม้การอพยพออกนอกประเทศของผู้ผลิตภาพยนตร์จำนวนมากและการจำกัดทางการเมือง แต่อุตสาหกรรมภาพยนตร์ของเยอรมนีก็มิได้ขาดนวัตกรรมทางเทคนิคและสุนทรีย์ การริเริ่มการผลิตภาพยนตร์อักฟาโคลอร์เป็นตัวอย่างที่โดดเด่นอันหนึ่ง ความสำเร็จทางเทคนิคและสุนทรีย์ยังอาจมาถึงคราวสิ้นสุดในไรช์ที่สามได้เหมือนกัน ที่เห็นได้ชัดในผลางานของเลนี รีเฟนสทาล ไทรอัมฟ์ออฟเดอะวิล (1935) ของรีเฟนสทาล ซึ่งบันทึกเหตุการณ์การชุมนุมที่เนือร์นแบร์ก (1934) และโอลิมเปีย (1938) ที่บันทึกเหตุการณ์โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 บุกเบิกเทคนิคการเคลื่อนไหวกล้องและการตัดต่อที่มีอิทธิพลต่อภาพยนตร์สมัยหลังจำนวนมาก ภาพยนตร์ทั้งสองเรื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ไททรอัมฟ์ออฟเดอะวิล ยังเป็นที่ถกเถียงกันอย่างสูง เพราะคุณค่าสุนทรีย์นั้นแยกขาดจากการโฆษณาชวนเชื่ออุดมคติชาติสังคมนิยมไม่ได้ ศิลปินที่ไม่สามารถแทนกันได้ที่ดูเหมาะกับอุดมคติชาติสังคมนิยม เช่น มารีคา รอคค์ และโยฮันเนส เฮสแทร์ส ถูกนำขึ้นรายการกอทท์เบกนาเดเทน ("ผู้มีพรสวรรค์จากพระเจ้า") โดยเกิบเบิลส์ระหว่างสงคราม[3]

ศาสนา

สำมะโนประชากรเยอรมนี เดือนพฤษภาคม 1939 บ่งชี้ว่า ชาวเยอรมัน 54% มองว่าตนเองนับถือนิกายโปรแตสแตนต์ และ 40% มองว่าตนนับถือคาทอลิก โดยมีเพียง 3.5% เท่านั้นที่อ้างว่าเป็น "ผู้เชื่อในพระเจ้า" เพเกินใหม่ และ 1.5% ไม่เชื่อในพระเจ้า สำมะโนนี้ออกมาหลังเข้าสู่ยุคนาซีมาแล้วหกปี[4]

การกีฬา

กีฬามีบทบาทศูนย์กลางในเป้าหมายการสร้างนักกีฬาหนุ่มสาวที่เข้มแข็งของนาซี เพื่อสร้างเชื้อชาติที่ "ดีเลิศ" และช่วยสร้างเยอรมนีเป็นมหาอำนาจทางกีฬา สัญนิยมทางการเมืองมวลชนที่มีร่างกายเกือบเปลือยบุรุษเพศครอบครองพื้นที่สาธารณะเข้ากับระบบการโฆษณาชวนเชื่ออย่างง่ายดาย โดยมีตัวอย่างคือ ภาพยนตร์ "โอลิมเปีย" ในปี 1938 ซึ่งมีเนื้อหากล่าวถึงโอลิมปิกฤดูร้อนกรุงเบอร์ลิน 1936[5]

"สันนิบาติชาติสังคมนิยมแห่งไรช์เพื่อกายบริหาร" (NSRBL) เป็นองค์การดูแลกีฬาระหว่างไรช์ที่สาม มีการจัดแสดงศิลปะและวัฒนธรรมเยอรมันสองครั้งหลักที่มหกรรมโอลิมปิกฤดูร้อน 1936 และที่ศาลาเยอรมันที่นิทรรศการระหว่างประเทศในปี 1937 โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 ตั้งใจให้แสดงให้โลกเห็นความเหนือกว่าชาติอื่นของเยอรมนี นักกีฬาเยอรมันได้ถูกคัดสรรอย่างมาอย่างดีไม่เพียงแต่พละกำลังเท่านั้น แต่ยังรวมถึงลักษณะภายนอกที่เป็นอารยันด้วย[6]

เชิงอรรถ

อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "annexed" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า

อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "statistics" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า

อ้างอิง

  1. Kinobesuche in Deutschland 1925 bis 2004 Spitzenorganisation der Filmwirtschaft e. V
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ industry1
  3. "Nederlanderse-entertainer-sin-Duitsland". Die Welt (ภาษาDutch). 17 April 2010. สืบค้นเมื่อ 7 April 2011.{{cite web}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  4. Johnson, Eric (2000). Nazi Terror: The Gestapo, Jews, and Ordinary Germans. New York: Basic Books, p. 10.
  5. Nadine Rossol, "Performing the Nation: Sports, Spectacles, and Aesthetics in Germany, 1926–1936," Central European History Dec 2010, Vol. 43 Issue 4, pp 616–638
  6. Anton Rippon, Hitler's Olympics: The Story of the 1936 Nazi Games (2006)

อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Abortion" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Animals in the Third Reich: Pets, Scapegoats, and the Holocaust" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "anthropology" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "BHTFSN153" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Biddiscombe2001" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "bmj" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Bowen 1981" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "conscience" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "continuum" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Cuomo 1995" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "democracy" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "destruction" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "dictators28" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "disciples" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "entertainment" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Evans2008" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Forced Labour under Third Reich - Part 1" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Germans and Poles 1871–1945" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "German Psychological Warfare" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "ghi-dc" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "goddesses" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "google1" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "google19" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "google21" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "google22" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "hanover" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "historiography" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "History of Contraception" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "h-net" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "HWJ79" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Inside the Third Reich: Memoirs" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "intellectual" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "jhu" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "JPop186" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "jstor" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "jstor2" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Kershaw2000" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Landdienst" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "madajczyk" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "material" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Mierzejewski1988" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "neu" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "NWC5" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "philosophy" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "production" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "RA132" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "richard" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "RRNM92" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "SCGG90" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "stewart" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Temin 1991" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "The Role of Private Property in the Nazi Economy: The Case of Industry" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "totalitarianism" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "uni-heidelberg" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "university" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "wehrmacht" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Why the Allies Won" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "www_kaltio_fi5" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า

อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "www_spartacus_schoolnet_co_uk" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า

บรรณานุกรม

ดูเพิ่ม

ประวัติศาสตร์

การเมือง

สังคม

หนังสืออ่านเพิ่มเติม

  • "Introduction to the Holocaust". United States Holocaust Memorial Museum. สืบค้นเมื่อ 12 May 2013.
  • Price, Alfred (2003). Targeting the Reich: Allied Photographic Reconnaissance over Europe, 1939–1945. London: Military Book Club. ISBN 0-7394-3496-9.
  • Tooze, Adam (2006). The Wages of Destruction: The Making and Breaking of the Nazi Economy. London; New York: Allen Lane. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • Uekötter, Frank (2006). The Green and the Brown: A History of Conservation in Nazi Germany. Cambridge; New York: Cambridge University Press. ISBN 978-0-521-84819-0. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • Uekötter, Frank (2005). "Polycentrism in Full Swing: Air Pollution Control in Nazi Germany". ใน Brüggemeier, Franz-Josef; Cioc, Mark; Zeller, Thomas (บ.ก.). How Green Were the Nazis?: Nature, Environment, and Nation in the Third Reich. Athens: Ohio University Press. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • Umbreit, Hans (2003). "Hitler's Europe: The German Sphere of Power". ใน Kroener, Bernhard; Müller, Rolf-Dieter; Umbreit, Hans (บ.ก.). Germany and the Second World War, Vol. 5. Organization and Mobilization in the German Sphere of Power. Part 2: Wartime Administration, Economy, and Manpower Resources, 1942–1944/5. Oxford; New York: Oxford University Press. ISBN 978-0-19-820873-0. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • van Wie, Paul D. (1999). Image, History and Politics: The Coinage of Modern Europe. Lanham, Md: University Press of America. ISBN 978-0-7618-1221-0. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • Weale, Adrian (2010). Army of Evil: A History of the SS. New York; Toronto: Penguin Group. ISBN 978-0-451-23791-0. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • Wedekind, Michael (2005). "The Sword of Science: German Scholars and National Socialist Annexation Policies in Slovenia and Northern Italy". ใน Haar, Ingo; Fahlbusch, Michael (บ.ก.). German Scholars and Ethnic Cleansing (1920–1945). New York: Berghahn. ISBN 978-1-57181-435-7. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • Wirtschaft und Statistik (ภาษาGerman). Wiesbaden: Statistisches Bundesamt Deutschland. October 1956. {{cite journal}}: |title= ไม่มีหรือว่างเปล่า (help)CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  • Zeitlin, Jonathan (1955). "Flexibility and Mass Production at War: Aircraft Manufacture in Britain, the United States, and Germany, 1939–1945". Technology and Culture. 36 (1): 46–79. doi:10.2307/3106341. JSTOR 3106341. {{cite journal}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)