ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถาปัตยกรรมโมกุล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[File:Taj_Mahal,_Agra,_India.jpg|thumb|[[ทัชมาฮาล]]เป็นสิ่งก่อสร้างสถาปัตยกรรมโมกุลที่มีชื่อเสียงที่สุดของโลก<ref name=":0">{{Cite web|url=https://whc.unesco.org/en/list/252/|title=Taj Mahal|last=Centre|first=UNESCO World Heritage|date=|website=UNESCO World Heritage Centre|language=en|archive-url=https://web.archive.org/web/20180201133603/https://whc.unesco.org/en/list/252|archive-date=2019-02-01|dead-url=no|access-date=2018-12-31}}</ref>]]
[[ไฟล์:Shahi Masjid Lahore.jpg|thumb|[[มัสยิดแบดซาฮิ]]เป็นสิ่งก่อสร้างสถาปัตยกรรมโมกุลที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งของโลก]]


'''สถาปัตยกรรมโมกุล''' (Mughal Architecture) เป็นรูปแบบหนึ่งของ[[สถาปัตยกรรมอินเดีย-อิสลาม]] (Indo-Islamic architecture) ซึ่งพัฒนาขึ้นใน[[จักรวรรดิโมกุล|สมัยโมกุล]] ราวคริสต์ศตวรรศที่ 16 ถึง 18 ซึ่งมีอาณาเขตในบริเวณ[[อนุทวีปอินเดีย]] สถาปัตยกรรมแบบนี้เป็นการผสมผสานระหว่างสถาปัตยกรรมดั้งเดิมของจักรวรรดิก่อน ๆ ในอินเดีย เช่น [[สถาปัตยกรรมอิสลาม]] [[สถาปัตยกรรมเปอร์เซีย]] [[สถาปัตยกรรมตุรกี]] และ [[สถาปัตยกรรมอินเดีย]] ลักษณะสำคัญคือ[[โดม]]ทรงบัลบัสขนาดใหญ่ [[หอมินาเรต]]ที่ขอบบาง โถงขนาดมหึมา ทางเข้าที่เป็นหลังคาทรงโค้ง และการตกแต่งที่วิจิตร
'''สถาปัตยกรรมโมกุล''' (Mughal Architecture) เป็นรูปแบบหนึ่งของ[[สถาปัตยกรรมอินเดีย-อิสลาม]] (Indo-Islamic architecture) ซึ่งพัฒนาขึ้นใน[[จักรวรรดิโมกุล|สมัยโมกุล]] ราวคริสต์ศตวรรศที่ 16 ถึง 18 ซึ่งมีอาณาเขตในบริเวณ[[อนุทวีปอินเดีย]] สถาปัตยกรรมแบบนี้เป็นการผสมผสานระหว่างสถาปัตยกรรมดั้งเดิมของจักรวรรดิก่อน ๆ ในอินเดีย เช่น [[สถาปัตยกรรมอิสลาม]] [[สถาปัตยกรรมเปอร์เซีย]] [[สถาปัตยกรรมตุรกี]] และ [[สถาปัตยกรรมอินเดีย]] ลักษณะสำคัญคือ[[โดม]]ทรงบัลบัสขนาดใหญ่ [[หอมินาเรต]]ที่ขอบบาง โถงขนาดมหึมา ทางเข้าที่เป็นหลังคาทรงโค้ง และการตกแต่งที่วิจิตร
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
จักรวรรดิโมกุลสถาปนาขึ้นหลังชัยชนะของ[[จักรพรรดิบาบูร์]] ในปี 1526 ขณะครองราชย์ พระองค์ทรงสนพระทัยในการก่อสร้างสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ ซึ่งส่วนมากถูกทำลายลงไปแล้ว ต่อมาในรัชสมัยของ[[จักรพรรดิอัคบาร์]] เป็นยุคที่มีการพัฒนาและสร้างสิ่งก่อสร้างด้วยสถาปัตยกรรมโมกุลอย่างรวดเร็วและมีจำนวนมาก ผลงานชิ้นสำคัญ เช่น [[ป้อมอัครา]] เมืองในป้อมปราการ "[[ฟเตหปุระสีกรี]]" และป้อมปราการของเมือง "[[Buland Darwaza]]" และในรัชสมัยของ[[จักรพรรดิชะฮันคีร์]]มีดำริสร้าง [[สวนชาลิมาร์ (กัศมีร์)]]
จักรวรรดิโมกุลสถาปนาขึ้นหลังชัยชนะของ[[จักรพรรดิบาบูร์]] ในปี 1526 ขณะครองราชย์ พระองค์ทรงสนพระทัยในการก่อสร้างสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ ซึ่งส่วนมากถูกทำลายลงไปแล้ว ต่อมาในรัชสมัยของ[[จักรพรรดิอัคบาร์]] เป็นยุคที่มีการพัฒนาและสร้างสิ่งก่อสร้างด้วยสถาปัตยกรรมโมกุลอย่างรวดเร็วและมีจำนวนมาก ผลงานชิ้นสำคัญ เช่น [[ป้อมอัครา]] เมืองในป้อมปราการ "[[ฟเตหปุระสีกรี]]" และป้อมปราการของเมือง "[[Buland Darwaza]]" และในรัชสมัยของ[[จักรพรรดิชะฮันคีร์]]มีดำริสร้าง [[สวนชาลิมาร์ (กัศมีร์)]]


จุดสูงสุดของสถาปัตยกรรมโมกุลคือรัชสมัยของ[[จักรพรรดิชาห์ชะฮัน]] ผู้ดำริสร้าง[[ทัชมาฮาล]] [[ป้อมแดง]] [[มัสยิดจามา (เดลี)|มัสยิดจามา]] สวน [[สวนชาลิมาร์ (ลาฮอร์)]] หลังพระองค์สิ้นพระชนม์ จักรวรรดิได้เสื่อมถอยลงพร้อมกับสถาปัตยกรรมโมกุล
จุดสูงสุดของสถาปัตยกรรมโมกุลคือรัชสมัยของ[[จักรพรรดิชาห์ชะฮัน]] ผู้ดำริสร้าง[[ทัชมาฮาล]]<ref name=":0">{{Cite web|url=https://whc.unesco.org/en/list/252/|title=Taj Mahal|last=Centre|first=UNESCO World Heritage|date=|website=UNESCO World Heritage Centre|language=en|archive-url=https://web.archive.org/web/20180201133603/https://whc.unesco.org/en/list/252|archive-date=2019-02-01|dead-url=no|access-date=2018-12-31}}</ref> [[ป้อมแดง]] [[มัสยิดจามา (เดลี)|มัสยิดจามา]] สวน [[สวนชาลิมาร์ (ลาฮอร์)]] หลังพระองค์สิ้นพระชนม์ จักรวรรดิได้เสื่อมถอยลงพร้อมกับสถาปัตยกรรมโมกุล


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:14, 11 มีนาคม 2562

มัสยิดแบดซาฮิเป็นสิ่งก่อสร้างสถาปัตยกรรมโมกุลที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งของโลก

สถาปัตยกรรมโมกุล (Mughal Architecture) เป็นรูปแบบหนึ่งของสถาปัตยกรรมอินเดีย-อิสลาม (Indo-Islamic architecture) ซึ่งพัฒนาขึ้นในสมัยโมกุล ราวคริสต์ศตวรรศที่ 16 ถึง 18 ซึ่งมีอาณาเขตในบริเวณอนุทวีปอินเดีย สถาปัตยกรรมแบบนี้เป็นการผสมผสานระหว่างสถาปัตยกรรมดั้งเดิมของจักรวรรดิก่อน ๆ ในอินเดีย เช่น สถาปัตยกรรมอิสลาม สถาปัตยกรรมเปอร์เซีย สถาปัตยกรรมตุรกี และ สถาปัตยกรรมอินเดีย ลักษณะสำคัญคือโดมทรงบัลบัสขนาดใหญ่ หอมินาเรตที่ขอบบาง โถงขนาดมหึมา ทางเข้าที่เป็นหลังคาทรงโค้ง และการตกแต่งที่วิจิตร

จักรวรรดิโมกุลสถาปนาขึ้นหลังชัยชนะของจักรพรรดิบาบูร์ ในปี 1526 ขณะครองราชย์ พระองค์ทรงสนพระทัยในการก่อสร้างสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ ซึ่งส่วนมากถูกทำลายลงไปแล้ว ต่อมาในรัชสมัยของจักรพรรดิอัคบาร์ เป็นยุคที่มีการพัฒนาและสร้างสิ่งก่อสร้างด้วยสถาปัตยกรรมโมกุลอย่างรวดเร็วและมีจำนวนมาก ผลงานชิ้นสำคัญ เช่น ป้อมอัครา เมืองในป้อมปราการ "ฟเตหปุระสีกรี" และป้อมปราการของเมือง "Buland Darwaza" และในรัชสมัยของจักรพรรดิชะฮันคีร์มีดำริสร้าง สวนชาลิมาร์ (กัศมีร์)

จุดสูงสุดของสถาปัตยกรรมโมกุลคือรัชสมัยของจักรพรรดิชาห์ชะฮัน ผู้ดำริสร้างทัชมาฮาล[1] ป้อมแดง มัสยิดจามา สวน สวนชาลิมาร์ (ลาฮอร์) หลังพระองค์สิ้นพระชนม์ จักรวรรดิได้เสื่อมถอยลงพร้อมกับสถาปัตยกรรมโมกุล

อ้างอิง

  1. Centre, UNESCO World Heritage. "Taj Mahal". UNESCO World Heritage Centre (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-02-01. สืบค้นเมื่อ 2018-12-31. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |dead-url= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)