ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลากระเบนค้างคาว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ขาดออ.
V.patipon (คุย | ส่วนร่วม)
มีการอัพเดทวิจัยใหม่ในปี 2010
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Taxobox
{{Taxobox
| name =
| name =
| status = NT
| status = VU
| status_system = IUCN3.1
| status_system = IUCN3.1
| status_ref = <ref> {{IUCN2008 | assessors=Kyne, P.M., Ishihara, H., Dudley, S.F.J. & White, W.T. | year=2006 | title=Aetobatus narinari | id=39415 | downloaded=24 February 2009}} </ref>
| status_ref = <ref> {{IKyne, P.M., Dudgeon, C.L., Ishihara, H., Dudley, S.F.J. & White, W.T. 2016. Aetobatus ocellatus. The IUCN Red List of Threatened Species 2016: e.T42566169A42566212. http://dx.doi.org/10.2305/IUCN.UK.2016-1.RLTS.T42566169A42566212.en.}} </ref>
| image = Spotted eagle ray lineart.jpg
| image = Spotted eagle ray lineart.jpg


บรรทัด 16: บรรทัด 16:
| familia = [[Myliobatidae]]
| familia = [[Myliobatidae]]
| genus = ''[[Aetobatus]]''
| genus = ''[[Aetobatus]]''
| species = '''''A. narinari'''''
| species = '''''A. Ocellatus'''''
| binomial = ''Aetobatus narinari''
| binomial = ''Aetobatus Ocellatus''
| binomial_authority = ([[Bengt Anders Euphrasén|Euphrasen]], [[ค.ศ. 1790|1790]])
| binomial_authority = ([[Kuhl]], [[ค.ศ. 1823|1823]])
| synonyms = {{hidden begin|ชื่อพ้อง}}
| synonyms = {{hidden begin|ชื่อพ้อง}}
*''Aetobatis latirostris
*''Aetobatis latirostris
บรรทัด 34: บรรทัด 34:
| range_map_caption = [[แผนที่]]แสดงการกระจายพันธุ์
| range_map_caption = [[แผนที่]]แสดงการกระจายพันธุ์
}}
}}
'''ปลากระเบนค้างคาว''',<ref>[http://www.ku.ac.th/fish/mfish.html/marine/mf008.html ชื่อปลากระเบน]</ref> '''ปลากระเบนเนื้อดำ''', '''ปลากระเบนยี่สน''' หรือ '''ปลากระเบนนกจุดขาว''' ({{lang-en|spotted eagle ray}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Aetobatus narinari}}) เป็น[[ปลากระเบน]][[สปีชีส์|ชนิด]]หนึ่ง อยู่ใน[[วงศ์ปลากระเบนนก]] (Myliobatidae)
'''ปลากระเบนค้างคาว''',<ref>ทัศพล กระจ่างดารา. 2560. ''[https://drive.google.com/file/d/0B83_my-FPRvcWWQwYm1oZnEtTEk/edit ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง.] กองวิจัยและพัฒนาประมงทะเล. กรมประมง. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 331 หน้า.''</ref> หรือ '''ปลากระเบนนก, ปลากระเบนเนื้อดำ''', '''ปลากระเบนยี่สน'''หรือ'''ปลากระเบนนกจุดขาว''' ({{lang-en|spotted eagle ray}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Aetobatus Ocellatus}}<ref name=":0">W�ll�am T. Wh�ite, Peter R. Last, Gav�n J.P. Naylor, K�rsten Jensen & Jan�ne N. Ca�ra (2010). Descriptions of new

sharks and rays from Borneo. [https://www.cmar.csiro.au/docs/Descriptions-of-sharks-and-rays-from-Borneo-small.pdf "'''Clarification of ''Aetobatus ocellatus'' (Kuhl, 1823) as a valid species, and a comparison with ''Aetobatus narinari'' (Euphrasen, 1790) (Rajiformes: Myliobatidae)"''']</ref>) เป็น[[ปลากระเบน]][[สปีชีส์|ชนิด]]หนึ่ง อยู่ใน[[วงศ์ปลากระเบนนก]] (Myliobatidae)


มีผิวหนังเรียบ ใกล้โคนหางด้านบนมีเงี่ยง 1–4 เงี่ยง พบมากที่สุด 6 เงี่ยง เรียงอยู่ชิดกัน ด้านหลังสีดำมีจุดสีขาวกระจายอยู่ส่วนท้าย ด้านท้องสีขาว หางเรียวยาวมาก มีส่วนหัวที่แยกออกจากครีบเห็นได้ชัดเจน จึงทำให้ว่ายน้ำไปมาได้อย่างอิสระเหมือนนกบิน มีขนาดกว้างได้ถึง 1.5 เมตร เคยพบสูงสุดถึง 3 เมตร น้ำหนัก 230 กิโลกรัม<ref>[http://www.elasmodiver.com/spotted_eagle_ray.htm SPOTTED EAGLE RAY]</ref>
มีผิวหนังเรียบ ใกล้โคนหางด้านบนมีเงี่ยง 1–4 เงี่ยง พบมากที่สุด 6 เงี่ยง เรียงอยู่ชิดกัน ด้านหลังสีดำมีจุดสีขาวกระจายอยู่ส่วนท้าย ด้านท้องสีขาว หางเรียวยาวมาก มีส่วนหัวที่แยกออกจากครีบเห็นได้ชัดเจน จึงทำให้ว่ายน้ำไปมาได้อย่างอิสระเหมือนนกบิน มีขนาดกว้างได้ถึง 1.5 เมตร เคยพบสูงสุดถึง 3 เมตร น้ำหนัก 230 กิโลกรัม<ref>[http://www.elasmodiver.com/spotted_eagle_ray.htm SPOTTED EAGLE RAY]</ref>
บรรทัด 40: บรรทัด 42:
หากินจำพวกสัตว์น้ำหน้าดิน เช่น [[หอย]], [[กุ้ง]], [[กั้ง]], [[ปู]] บริเวณใต้พื้นน้ำเป็นอาหาร โดยใช้ปากคุ้ยเขี่ยพื้นทรายหา บางครั้งอาจเข้ามาหากินถึงบริเวณ[[ปากแม่น้ำ]]ที่เป็น[[น้ำกร่อย]]ได้ บางครั้งจะรวมตัวกันเป็นฝูงหลายตัว และสามารถดำน้ำได้ลึกถึง 80 เมตร
หากินจำพวกสัตว์น้ำหน้าดิน เช่น [[หอย]], [[กุ้ง]], [[กั้ง]], [[ปู]] บริเวณใต้พื้นน้ำเป็นอาหาร โดยใช้ปากคุ้ยเขี่ยพื้นทรายหา บางครั้งอาจเข้ามาหากินถึงบริเวณ[[ปากแม่น้ำ]]ที่เป็น[[น้ำกร่อย]]ได้ บางครั้งจะรวมตัวกันเป็นฝูงหลายตัว และสามารถดำน้ำได้ลึกถึง 80 เมตร


ในปี ค.ศ. 2010 มีงานวิจัย<ref name=":0" />ว่าด้วยเรื่องการแบ่งชื่อสายพันธุ์ใหม่จากสายพันธุ์เดิม ''Aetobatus Narinari'' เนื่องจากมีในงานวิจับพบความแตกต่างอย่างชัดเจนของตัวอย่างที่พบในแต่ละพื้นที่ทั่วโลก พบการกระจายพันธุ์ ''Aetobatus Narinari'' ในบริเวณ[[มหาสมุทรแอตแลนติก]] สายพันธุ์ ''Aetobatus Laticeps'' ในบริเวณตะวันออกของ[[มหาสมุทรแปซิฟิก]] และ ''Aetobatus Ocellatus'' ในบริเวณตะวันตกของ[[มหาสมุทรแปซิฟิก]] และ [[มหาสมุทรอินเดีย]] รวมถึงบริเวณ [[อ่าวไทย]] และ [[ทะเลอันดามัน]] ของประเทศไทย
พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวาง ทั้ง[[มหาสมุทรแปซิฟิก]], [[มหาสมุทรแอตแลนติก]], [[มหาสมุทรอินเดีย]] ตั้งแต่[[ฮาวาย]], [[อ่าวเม็กซิโก]], ชายฝั่งทะเลของ[[แอฟริกาตะวันตก]], ชายฝั่งทะเลของสหรัฐอเมริกา และ[[โอเชียเนีย]]


ปลากระเบนค้างคาวออกลูกเป็นไข่ แต่ไข่ได้พัฒนาเป็นตัวในช่องท้องของปลาตัวเมีย เมื่อแรกเกิดลูกปลาจะมี[[ถุงไข่แดง]]ติดตัวมาด้วย
ปลากระเบนค้างคาวออกลูกเป็นไข่ แต่ไข่ได้พัฒนาเป็นตัวในช่องท้องของปลาตัวเมีย เมื่อแรกเกิดลูกปลาจะมี[[ถุงไข่แดง]]ติดตัวมาด้วย


ปลากระเบนค้างคาวสนนั้น มักถูกล่าเป็นอาหารจาก[[ปลาฉลาม]] โดยเฉพาะ[[ปลาฉลามหัวค้อน]]<ref>Chapman, D.D. and Gruber, S.H. (May 2002). "A further observation of the prey-handling behavior of the great hammerhead shark, ''Sphyrna mokarran'': predation upon the spotted eagle ray, ''Aetobatus narinari''". Bulletin of Marine Science 70 (3): 947–952</ref> สำหรับความสัมพันธ์ต่อมนุษย์แล้ว นิยมเลี้ยงใน[[พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ]]ต่าง ๆ เพราะความสวยงามในสีสันและการว่ายน้ำ และยังนิยมใช้เนื้อเพื่อการบริโภคด้วยทั้งการบริโภคสดและเก็บรักษาเป็น[[ปลาแห้ง]] และทำเป็นปลาหย็อง<ref>[http://docs.google.com/viewer?a=v&q=cache:TN_LZdnHLhsJ:library.dip.go.th/multim/edoc/09988.doc+%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AA%E0%B8%99&hl=th&gl=th&pid=bl&srcid=ADGEESjPPDzGBAmP4fLsQ9Ag7tVb1AofoO2Z9oHy34RW8fkGnp4DEZqZ-WnVifNIzwB0JuZJruS_KMtKUjEoNlU21NPz1RWHzFjUGClZSN6Q_k7qFBdl-4cI5_uQetzQ81LrKaNC9b3j&sig=AHIEtbR06aJHFfLjCMHkhgou88UPSBgToA ปลาค้างคาวสนหยอง ของดีเมืองแม่กลอง]</ref>
ปลากระเบนค้างคาวนั้น มักถูกล่าเป็นอาหารจาก[[ปลาฉลาม]] โดยเฉพาะ[[ปลาฉลามหัวค้อน]]<ref>Chapman, D.D. and Gruber, S.H. (May 2002). "A further observation of the prey-handling behavior of the great hammerhead shark, ''Sphyrna mokarran'': predation upon the spotted eagle ray, ''Aetobatus narinari''". Bulletin of Marine Science 70 (3): 947–952</ref> สำหรับความสัมพันธ์ต่อมนุษย์แล้ว นิยมเลี้ยงใน[[พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ]]ต่าง ๆ เพราะความสวยงามในสีสันและการว่ายน้ำ และยังนิยมใช้เนื้อเพื่อการบริโภคด้วยทั้งการบริโภคสดและเก็บรักษาเป็น[[ปลาแห้ง]] และทำเป็นปลาหย็อง<ref>[http://docs.google.com/viewer?a=v&q=cache:TN_LZdnHLhsJ:library.dip.go.th/multim/edoc/09988.doc+%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AA%E0%B8%99&hl=th&gl=th&pid=bl&srcid=ADGEESjPPDzGBAmP4fLsQ9Ag7tVb1AofoO2Z9oHy34RW8fkGnp4DEZqZ-WnVifNIzwB0JuZJruS_KMtKUjEoNlU21NPz1RWHzFjUGClZSN6Q_k7qFBdl-4cI5_uQetzQ81LrKaNC9b3j&sig=AHIEtbR06aJHFfLjCMHkhgou88UPSBgToA ปลาค้างคาวสนหยอง ของดีเมืองแม่กลอง]</ref>

ณ ปัจจุบันกระเบนค้างคาวยังไม่สามารถเพาะพันธุ์ในเชิงพาณิชย์ได้ เนื่องจากความมีค่าใช้จ่ายที่สูงในการจัดการพื้นที่ จึงทำให้ยังไม่สามารถเพาะพันธุ์ทดแทนกับปริมาณที่ลดลงในธรรมชาติได้


==รูปภาพ==
==รูปภาพ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:41, 9 มีนาคม 2562

ปลากระเบนค้างคาว
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: ครีเตเชียสตอนต้น-ปัจจุบัน[1]
รูปวาดลำตัวด้านบน
ลำตัวด้านข้าง
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Chondrichthyes
ชั้นย่อย: Elasmobranchii
อันดับ: Myliobatiformes
วงศ์: Myliobatidae
สกุล: Aetobatus
สปีชีส์: A.  Ocellatus
ชื่อทวินาม
Aetobatus Ocellatus
(Kuhl, 1823)
แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์
ชื่อพ้อง
  • Aetobatis latirostris
  • Aetobatis narinari
  • Aetomylus maculatus
  • Myliobatis eeltenkee
  • Myliobatis macroptera
  • Myliobatus punctatus
  • Raia quinqueaculeata
  • Raja narinari
  • Stoasodon narinari

ปลากระเบนค้างคาว,[3] หรือ ปลากระเบนนก, ปลากระเบนเนื้อดำ, ปลากระเบนยี่สนหรือปลากระเบนนกจุดขาว (อังกฤษ: spotted eagle ray; ชื่อวิทยาศาสตร์: Aetobatus Ocellatus[4]) เป็นปลากระเบนชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลากระเบนนก (Myliobatidae)

มีผิวหนังเรียบ ใกล้โคนหางด้านบนมีเงี่ยง 1–4 เงี่ยง พบมากที่สุด 6 เงี่ยง เรียงอยู่ชิดกัน ด้านหลังสีดำมีจุดสีขาวกระจายอยู่ส่วนท้าย ด้านท้องสีขาว หางเรียวยาวมาก มีส่วนหัวที่แยกออกจากครีบเห็นได้ชัดเจน จึงทำให้ว่ายน้ำไปมาได้อย่างอิสระเหมือนนกบิน มีขนาดกว้างได้ถึง 1.5 เมตร เคยพบสูงสุดถึง 3 เมตร น้ำหนัก 230 กิโลกรัม[5]

หากินจำพวกสัตว์น้ำหน้าดิน เช่น หอย, กุ้ง, กั้ง, ปู บริเวณใต้พื้นน้ำเป็นอาหาร โดยใช้ปากคุ้ยเขี่ยพื้นทรายหา บางครั้งอาจเข้ามาหากินถึงบริเวณปากแม่น้ำที่เป็นน้ำกร่อยได้ บางครั้งจะรวมตัวกันเป็นฝูงหลายตัว และสามารถดำน้ำได้ลึกถึง 80 เมตร

ในปี ค.ศ. 2010 มีงานวิจัย[4]ว่าด้วยเรื่องการแบ่งชื่อสายพันธุ์ใหม่จากสายพันธุ์เดิม Aetobatus Narinari เนื่องจากมีในงานวิจับพบความแตกต่างอย่างชัดเจนของตัวอย่างที่พบในแต่ละพื้นที่ทั่วโลก พบการกระจายพันธุ์ Aetobatus Narinari ในบริเวณมหาสมุทรแอตแลนติก สายพันธุ์ Aetobatus Laticeps ในบริเวณตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก และ Aetobatus Ocellatus ในบริเวณตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก และ มหาสมุทรอินเดีย รวมถึงบริเวณ อ่าวไทย และ ทะเลอันดามัน ของประเทศไทย

ปลากระเบนค้างคาวออกลูกเป็นไข่ แต่ไข่ได้พัฒนาเป็นตัวในช่องท้องของปลาตัวเมีย เมื่อแรกเกิดลูกปลาจะมีถุงไข่แดงติดตัวมาด้วย

ปลากระเบนค้างคาวนั้น มักถูกล่าเป็นอาหารจากปลาฉลาม โดยเฉพาะปลาฉลามหัวค้อน[6] สำหรับความสัมพันธ์ต่อมนุษย์แล้ว นิยมเลี้ยงในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำต่าง ๆ เพราะความสวยงามในสีสันและการว่ายน้ำ และยังนิยมใช้เนื้อเพื่อการบริโภคด้วยทั้งการบริโภคสดและเก็บรักษาเป็นปลาแห้ง และทำเป็นปลาหย็อง[7]

ณ ปัจจุบันกระเบนค้างคาวยังไม่สามารถเพาะพันธุ์ในเชิงพาณิชย์ได้ เนื่องจากความมีค่าใช้จ่ายที่สูงในการจัดการพื้นที่ จึงทำให้ยังไม่สามารถเพาะพันธุ์ทดแทนกับปริมาณที่ลดลงในธรรมชาติได้

รูปภาพ

อ้างอิง

  1. Summers, Adam (2001). "Aetobatus narinari". Digital Morphology. สืบค้นเมื่อ 1 November 2011.
  2. แม่แบบ:IKyne, P.M., Dudgeon, C.L., Ishihara, H., Dudley, S.F.J. & White, W.T. 2016. Aetobatus ocellatus. The IUCN Red List of Threatened Species 2016: e.T42566169A42566212. http://dx.doi.org/10.2305/IUCN.UK.2016-1.RLTS.T42566169A42566212.en.
  3. ทัศพล กระจ่างดารา. 2560. ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง. กองวิจัยและพัฒนาประมงทะเล. กรมประมง. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 331 หน้า.
  4. 4.0 4.1 W�ll�am T. Wh�ite, Peter R. Last, Gav�n J.P. Naylor, K�rsten Jensen & Jan�ne N. Ca�ra (2010). Descriptions of new sharks and rays from Borneo. "Clarification of Aetobatus ocellatus (Kuhl, 1823) as a valid species, and a comparison with Aetobatus narinari (Euphrasen, 1790) (Rajiformes: Myliobatidae)"
  5. SPOTTED EAGLE RAY
  6. Chapman, D.D. and Gruber, S.H. (May 2002). "A further observation of the prey-handling behavior of the great hammerhead shark, Sphyrna mokarran: predation upon the spotted eagle ray, Aetobatus narinari". Bulletin of Marine Science 70 (3): 947–952
  7. ปลาค้างคาวสนหยอง ของดีเมืองแม่กลอง

แหล่งข้อมูลอื่น