ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะรัฐมนตรี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 34: บรรทัด 34:
| [[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 10|ครม.10]] || [[แปลก พิบูลสงคราม|จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] || [[7 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2485]] || [[1 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2487]] || || ลาออก / สส.ไม่อนุมัติร่างพรบ. และ พรก.
| [[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 10|ครม.10]] || [[แปลก พิบูลสงคราม|จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] || [[7 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2485]] || [[1 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2487]] || || ลาออก / สส.ไม่อนุมัติร่างพรบ. และ พรก.
|- style="background:#ffddaa"
|- style="background:#ffddaa"
| [[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 11|ครม.11]] || [[ควง อภัยวงศ์|พันตรี ควง อภัยวงศ์]] || [[1 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2487]] || [[31 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2488]] || || ลาออก / สงครามโลกครั้งที่ 2 ได้สิ้นสุดลง
| [[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 11 ของไทย|ครม.11]] || [[ควง อภัยวงศ์|พันตรี ควง อภัยวงศ์]] || [[1 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2487]] || [[31 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2488]] || || ลาออก / สงครามโลกครั้งที่ 2 ได้สิ้นสุดลง
|- style="background:#F0E68C"
|- style="background:#F0E68C"
| [[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 12|ครม.12]] || [[ทวี บุณยเกตุ|นายทวี บุณยเกตุ]] || [[31 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2488]] || [[17 กันยายน]] [[พ.ศ. 2488]] || 17 วัน || ลาออก / เปิดโอกาสให้ผู้ที่เหมาะสมเข้ามาแทน
| [[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 12|ครม.12]] || [[ทวี บุณยเกตุ|นายทวี บุณยเกตุ]] || [[31 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2488]] || [[17 กันยายน]] [[พ.ศ. 2488]] || 17 วัน || ลาออก / เปิดโอกาสให้ผู้ที่เหมาะสมเข้ามาแทน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:46, 7 พฤศจิกายน 2550

คณะรัฐมนตรี หมายถึง คณะบุคคลฝ่ายบริหารในระดับสูงสุดของรัฐบาล ที่เข้ามาบริหารประเทศ โดยรัฐมนตรีจะแต่งตั้งโดยนายกรัฐมนตรี

คณะรัฐมนตรีไทย

ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันประเทศไทยมีคณะรัฐมนตรีทั้งหมด 56 คณะ ดังนี้

  รัฐบาลพลเรือน
  รัฐบาลทหาร
  รักษาการ
  ยึดอำนาจ


ครม.ที่ นายกรัฐมนตรี เริ่มต้น สิ้นสุด เป็นเวลา สิ้นสุดลงโดย / สาเหตุ
ครม.1 พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) 28 มิถุนายน พ.ศ. 2475 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2475
ครม.2 พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 1 เมษายน พ.ศ. 2476 รัฐประหารโดยพระราชกฤษฎีกา
ครม.3 พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) 1 เมษายน พ.ศ. 2476 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 รัฐประหาร 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476
ครม.4 นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) 21 มิถุนายน พ.ศ. 2476 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 ลาออก - เลือกตั้งทั่วไป
ครม.5 นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 22 กันยายน พ.ศ. 2477 ลาออก / สภาไม่อนุมัติสนธิสัญญาจำกัดยางของรัฐบาล
ครม.6 นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) 22 กันยายน พ.ศ. 2477 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480 ลาออก / กระทู้เรื่องขายที่ดินพระคลังข้างที่
ครม.7 นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480 สภาครบวาระ - เลือกตั้งทั่วไป
ครม.8 นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481 รัฐบาลยุบสภา (11 กันยายน พ.ศ. 2481) - เลือกตั้งทั่วไป
ครม.9 พันเอก หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ) 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481 7 มีนาคม พ.ศ. 2485 ลาออก / เปลี่ยนแปลงคณะรัฐมนตรีให้เหมาะสม
ครม.10 จอมพล ป. พิบูลสงคราม 7 มีนาคม พ.ศ. 2485 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487 ลาออก / สส.ไม่อนุมัติร่างพรบ. และ พรก.
ครม.11 พันตรี ควง อภัยวงศ์ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487 31 สิงหาคม พ.ศ. 2488 ลาออก / สงครามโลกครั้งที่ 2 ได้สิ้นสุดลง
ครม.12 นายทวี บุณยเกตุ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2488 17 กันยายน พ.ศ. 2488 17 วัน ลาออก / เปิดโอกาสให้ผู้ที่เหมาะสมเข้ามาแทน
ครม.13 หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช 17 กันยายน พ.ศ. 2488 31 มกราคม พ.ศ. 2489 รัฐบาลยุบสภา
ครม.14 พันตรีควง อภัยวงศ์ 31 มกราคม พ.ศ. 2489 24 มีนาคม พ.ศ. 2489 ลาออก / แพ้มติสภาที่เสนอพ.ร.บ.ที่รัฐบาลรับไม่ได้
ครม.15 นายปรีดี พนมยงค์ 24 มีนาคม พ.ศ. 2489 11 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489
ครม.16 นายปรีดี พนมยงค์ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2489 23 สิงหาคม พ.ศ. 2489 ลาออก / ตรากตรำงานหนัก
ครม.17 พลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ (หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์) 23 สิงหาคม พ.ศ. 2489 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 ลาออกหลังจากการอภิปรายทั่วไป 7 วัน 7 คืน
ครม.18 พลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ (หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์) 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 รัฐประหาร 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
ครม.19 นายควง อภัยวงศ์ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 ลาออก / เป็นรัฐบาลรักษาการเพื่อจัดเลือกตั้งทั่วไป
ครม.20 นายควง อภัยวงศ์ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 8 เมษายน พ.ศ. 2491 ลาออก / คณะรัฐประหารบังคับให้ลาออกภายใน 24 ชั่วโมง
ครม.21 จอมพล ป. พิบูลสงคราม 8 เมษายน พ.ศ. 2491 25 มิถุนายน พ.ศ. 2492 ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2492 - เลือกตั้งทั่วไป
ครม.22 จอมพล ป. พิบูลสงคราม 25 มิถุนายน พ.ศ. 2492 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 นำรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2475 กลับมาใช้
ครม.23 จอมพล ป. พิบูลสงคราม 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 6 ธันวาคม พ.ศ. 2494 มีการแต่งตั้งสมาชิกประเภทที่ 2 ขึ้นใหม่
ครม.24 จอมพล ป. พิบูลสงคราม 6 ธันวาคม พ.ศ. 2494 24 มีนาคม พ.ศ. 2495 ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2495 - เลือกตั้งทั่วไป
ครม.25 จอมพล ป. พิบูลสงคราม 24 มีนาคม พ.ศ. 2495 21 มีนาคม พ.ศ. 2500 สส. ครบวาระ - เลือกตั้งทั่วไป
ครม.26 จอมพล ป. พิบูลสงคราม 21 มีนาคม พ.ศ. 2500 16 กันยายน พ.ศ. 2500 รัฐประหาร 16 กันยายน พ.ศ. 2500
ครม.27 นายพจน์ สารสิน 21 กันยายน พ.ศ. 2500 1 มกราคม พ.ศ. 2501 ลาออก - เลือกตั้งทั่วไป
ครม.28 พลโทถนอม กิตติขจร 1 มกราคม พ.ศ. 2501 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 ลาออกและรัฐประหาร 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501
ครม.29 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506 นายกรัฐมนตรีถึงแก่อสัญกรรม
ครม.30 จอมพลถนอม กิตติขจร 9 ธันวาคม พ.ศ. 2506 7 มีนาคม พ.ศ. 2512 ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2511 - เลือกตั้งทั่วไป
ครม.31 จอมพลถนอม กิตติขจร 7 มีนาคม พ.ศ. 2512 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 รัฐประหารโดยจอมพลถนอม กิตติขจร
ยึดอำนาจ สภาบริหารแห่งชาติ
จอมพลถนอม กิตติขจรได้ทำการรัฐประหารรัฐบาลตนเอง
18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 17 ธันวาคม พ.ศ. 2515
ครม.32 จอมพลถนอม กิตติขจร 18 ธันวาคม พ.ศ. 2515 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ลาออก / เกิดเหตุการณ์ 14 ตุลา
ครม.33 นายสัญญา ธรรมศักดิ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2517 ลาออก / อ้างเหตุร่างรัฐธรรมนูญไม่เสร็จ
ครม.34 นายสัญญา ธรรมศักดิ์ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2517 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2517 - เลือกตั้งทั่วไป
ครม.35 หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 14 มีนาคม พ.ศ. 2518 ไม่ได้รับความไว้วางใจจากส.ส. ในการแถลงนโยบาย
ครม.36 หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช 14 มีนาคม พ.ศ. 2518 20 เมษายน พ.ศ. 2519 รัฐบาลยุบสภา (12 มกราคม พ.ศ. 2519) - เลือกตั้งทั่วไป
ครม.37 หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช 20 เมษายน พ.ศ. 2519 25 กันยายน พ.ศ. 2519 ลาออก / วิกฤตการณ์จอมพลถนอม กลับมาอุปสมบท
ครม.38 หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช 25 กันยายน พ.ศ. 2519 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 รัฐประหาร 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519
ยึดอำนาจ คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน
นำโดยพลเรือเอกสงัด ชลออยู่
6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 8 ตุลาคม พ.ศ. 2519
ครม.39 นายธานินทร์ กรัยวิเชียร 8 ตุลาคม พ.ศ. 2519 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 รัฐประหาร 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520
ยึดอำนาจ คณะปฏิวัติ
นำโดยพลเรือเอกสงัด ชลออยู่
20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520
ครม.40 พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2521 - เลือกตั้งทั่วไป
ครม.41 พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 3 มีนาคม พ.ศ. 2523 ลาออก / วิกฤตการณ์น้ำมันและผู้ลี้ภัย
ครม.42 พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ 3 มีนาคม พ.ศ. 2523 30 เมษายน พ.ศ. 2526 รัฐบาลยุบสภา (19 มกราคม พ.ศ. 2526) - เลือกตั้งทั่วไป
ครม.43 พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ 30 เมษายน พ.ศ. 2526 5 สิงหาคม พ.ศ. 2529 รัฐบาลยุบสภา (1 พฤษภาคม พ.ศ. 2529) - เลือกตั้งทั่วไป
ครม.44 พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2529 4 สิงหาคม พ.ศ. 2531 รัฐบาลยุบสภา (29 เมษายน พ.ศ. 2531) - เลือกตั้งทั่วไป
ครม.45 พลตรีชาติชาย ชุณหะวัณ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2531 9 ธันวาคม พ.ศ. 2533 ลาออกแล้วจัดตั้งรัฐบาลใหม่
ครม.46 พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2533 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 รัฐประหาร 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534
ยึดอำนาจ คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.)
นำโดยพลเอกสุนทร คงสมพงษ์พร้อมด้วยคณะนายทหาร
24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 1 มีนาคม พ.ศ. 2534
ครม.47 นายอานันท์ ปันยารชุน 2 มีนาคม พ.ศ. 2534 7 เมษายน พ.ศ. 2535 ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2534 - เลือกตั้งทั่วไป
ครม.48 พลเอกสุจินดา คราประยูร 7 เมษายน พ.ศ. 2535 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 ลาออก / เกิดเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ
48 รักษาการ
นายมีชัย ฤชุพันธุ์ รองนายกรัฐมนตรี
24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 10 มิถุนายน พ.ศ. 2535 โปรดเกล้าฯ นายกรัฐมนตรีคนใหม่
ครม.49 นายอานันท์ ปันยารชุน 10 มิถุนายน พ.ศ. 2535 23 กันยายน พ.ศ. 2535 รัฐบาลยุบสภา (30 มิถุนายน พ.ศ. 2535) - เลือกตั้งทั่วไป
ครม.50 นายชวน หลีกภัย 23 กันยายน พ.ศ. 2535 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 รัฐบาลยุบสภา (19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538) - เลือกตั้งทั่วไป
ครม.51 นายบรรหาร ศิลปอาชา 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 รัฐบาลยุบสภา (27 กันยายน พ.ศ. 2539) - เลือกตั้งทั่วไป
ครม.52 พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 ลาออก / วิกฤตการณ์เศรษฐกิจ
ครม.53 นายชวน หลีกภัย 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 รัฐบาลยุบสภา (9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543) - เลือกตั้งทั่วไป
ครม.54 พันตำรวจโท ดร. ทักษิณ ชินวัตร 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 11 มีนาคม พ.ศ. 2548 อายุสภาฯสิ้นสุด ครบวาระ 4 ปี
ครม.55 พันตำรวจโท ดร. ทักษิณ ชินวัตร 11 มีนาคม พ.ศ. 2548 19 กันยายน พ.ศ. 2549 รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549
ยึดอำนาจ คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
(คปค.) นำโดยพลเอกสนธิ บุญยรัตกลินพร้อมด้วยคณะนายทหาร
19 กันยายน พ.ศ. 2549 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549
ครม.56 พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549 ปัจจุบัน