ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อิบน์ ซีนา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 32: บรรทัด 32:
| influences = {{hlist|list_style=line-height:1.3em; |[[อะบู เรฮัน อัลบิรูนี]] |[[โอมาร์ คัยยาม]] |[[อิบน์ รุชด์]] |[[ชาบาบ อัล-ดิน ซูฮ์ราวัรดี]] |[[นาซีร อัล-ดีน อัล-ตูซี|ตูซี]] |[[อิบน์ อัล-นาฟิส]] |[[อิบน์ ตุฟัยล์]] |[[อัลแบร์ตุส มาญุส]] |[[ไมโมนิเดส]] |[[ทอมัส อไควนัส]] |[[วิลเลียมแห่งโอคแฮม]]| |[[อบูอุบัยด์ อัล-ญุซนี]] |[[ยุคเรืองปัญญา|นักปราชญ์ในยุคเรืองปัญญา]]}}
| influences = {{hlist|list_style=line-height:1.3em; |[[อะบู เรฮัน อัลบิรูนี]] |[[โอมาร์ คัยยาม]] |[[อิบน์ รุชด์]] |[[ชาบาบ อัล-ดิน ซูฮ์ราวัรดี]] |[[นาซีร อัล-ดีน อัล-ตูซี|ตูซี]] |[[อิบน์ อัล-นาฟิส]] |[[อิบน์ ตุฟัยล์]] |[[อัลแบร์ตุส มาญุส]] |[[ไมโมนิเดส]] |[[ทอมัส อไควนัส]] |[[วิลเลียมแห่งโอคแฮม]]| |[[อบูอุบัยด์ อัล-ญุซนี]] |[[ยุคเรืองปัญญา|นักปราชญ์ในยุคเรืองปัญญา]]}}
}}
}}
[[File:Avicenna-miniatur.jpg|thumb|แอวิเซนนา]]
[[ไฟล์:Avicenna-miniatur.jpg|thumb|แอวิเซนนา]]
'''อะบูอาลี อัลฮูซัยน์ บินอับดิลลาฮ์ อิบนุซีนา''' หรือ '''แอวิเซนนา''' ({{lang-en|Avicenna}}; ค.ศ. 980-1037) เป็นนักปราชญ์[[ชาวเปอร์เซีย]] ที่มีบทบาทด้าน[[สาธารณสุข]] เมื่อเกิดวิกฤตการณ์แผ่ระบาดโรคในอาณาจักร เขายังเป็นแพทย์ประจำพระองค์ของเจ้าชายต่าง ๆ ในช่วงบั้นท้ายชีวิตเขาได้เป็นรัฐมนตรีของรัฐ เขายังเขียนหนังสือ[[ปทานุกรม]]คำศัพท์, สารานุกรมศัพท์ ในหัวข้อต่างๆ เช่น[[การแพทย์]] ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ ดนตรี [[เศรษฐศาสตร์]]และ[[รัฐศาสตร์]] นอกจากนี้ยังเป็น[[กวี]]ที่มีผลงานได้รับความนิยมในโลกอาหรับ ผลงานที่สำคัญที่สุดคือ ชุด ''Canon of Medicine'' ที่นำรากฐานมาจาก[[ฮิปโปเครติส]] [[อริสโตเติล]] [[พีดาเนียส ไดออสคอริดีส|ไดออสคอริดีส]] [[กาเลน]] และบุคคลสำคัญวงการแพทย์อื่น โดยแทรกทฤษฏีและการสังเกตของเขาเองลงไปด้วย
'''อะบูอาลี อัลฮูซัยน์ บินอับดิลลาฮ์ อิบนุซีนา''' หรือ '''แอวิเซนนา''' ({{lang-en|Avicenna}}; ค.ศ. 980-1037) เป็นนักปราชญ์[[ชาวเปอร์เซีย]] ที่มีบทบาทด้าน[[สาธารณสุข]] เมื่อเกิดวิกฤตการณ์แผ่ระบาดโรคในอาณาจักร เขายังเป็นแพทย์ประจำพระองค์ของเจ้าชายต่าง ๆ ในช่วงบั้นท้ายชีวิตเขาได้เป็นรัฐมนตรีของรัฐ เขายังเขียนหนังสือ[[ปทานุกรม]]คำศัพท์, สารานุกรมศัพท์ ในหัวข้อต่างๆ เช่น[[การแพทย์]] ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ ดนตรี [[เศรษฐศาสตร์]]และ[[รัฐศาสตร์]] นอกจากนี้ยังเป็น[[กวี]]ที่มีผลงานได้รับความนิยมในโลกอาหรับ ผลงานที่สำคัญที่สุดคือ ชุด ''Canon of Medicine'' ที่นำรากฐานมาจาก[[ฮิปโปเครติส]] [[อริสโตเติล]] [[พีดาเนียส ไดออสคอริดีส|ไดออสคอริดีส]] [[กาเลน]] และบุคคลสำคัญวงการแพทย์อื่น โดยแทรกทฤษฏีและการสังเกตของเขาเองลงไปด้วย



รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:19, 28 มกราคม 2562

แอวิเซนนา
อิบน์ ซีนา  ابن سینا
ภาพของอิบน์ ซีนา บนแจกันเงิน
เกิดค.ศ.980
อัฟโชนา, บุคอรอ, อาณาจักรซามานิด (ปัจจุบันคือประเทศอุซเบกิสถาน)
เสียชีวิตมิถุนายน ค.ศ.1037
ฮามาดาน, คาคูยิดส์ (ประเทศอิหร่าน)
อาชีพทางวิทยาศาสตร์
มีอิทธิพลต่อ
ได้รับอิทธิพลจาก
แอวิเซนนา

อะบูอาลี อัลฮูซัยน์ บินอับดิลลาฮ์ อิบนุซีนา หรือ แอวิเซนนา (อังกฤษ: Avicenna; ค.ศ. 980-1037) เป็นนักปราชญ์ชาวเปอร์เซีย ที่มีบทบาทด้านสาธารณสุข เมื่อเกิดวิกฤตการณ์แผ่ระบาดโรคในอาณาจักร เขายังเป็นแพทย์ประจำพระองค์ของเจ้าชายต่าง ๆ ในช่วงบั้นท้ายชีวิตเขาได้เป็นรัฐมนตรีของรัฐ เขายังเขียนหนังสือปทานุกรมคำศัพท์, สารานุกรมศัพท์ ในหัวข้อต่างๆ เช่นการแพทย์ ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ ดนตรี เศรษฐศาสตร์และรัฐศาสตร์ นอกจากนี้ยังเป็นกวีที่มีผลงานได้รับความนิยมในโลกอาหรับ ผลงานที่สำคัญที่สุดคือ ชุด Canon of Medicine ที่นำรากฐานมาจากฮิปโปเครติส อริสโตเติล ไดออสคอริดีส กาเลน และบุคคลสำคัญวงการแพทย์อื่น โดยแทรกทฤษฏีและการสังเกตของเขาเองลงไปด้วย

หนังสืออีกชุดของเขามีเนื้อหาทางด้านเภสัชวิทยาต้นไม้สมุนไพร ถือเป็นตำราพื้นฐานแพทย์ที่สำคัญของโลกมุสลิมและคริสเตียน แต่ทฤษฎีของเขาก็ดูด้อยความเชื่อถือลงเมื่อลีโอนาร์โด ดา วินชี ปฏิเสธตำรากายวิภาคของเขา แพราเซลซัส เผาสำเนาตำรา Canon of Medicine ที่ใช้สอนกันในสวิสเซอร์แลนด์ และวิลเลียม ฮาร์วีย์ แพทย์และนักวิทยาศาสตร์ ล้มทฤษฎีของเขาในเรื่องการค้นพบระบบหมุนเวียนโลหิตในร่างกายคน[4]

อ้างอิง

  1. ในบุคอรอ (19 ปี) จากนั้นกูรกานจ์, ควาราซม์ (13 ปี).
  2. ในกอร์กาน, 1012–14.
  3. ในเรย์ (1 ปี), ฮามาดาน (9 ปี) และอิสฟาฮาน (13 ปี). "D. Gutas, 1987, Avicenna ii. Biography, Encyclopædia Iranica". Iranicaonline.org. สืบค้นเมื่อ 2012-01-07.
  4. แอวิเซนนา ( Avicenna ) ค.ศ. 980-1037