ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อองซาน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Aung San in uniform.jpg|thumb|200px|อองซาน]]
[[ไฟล์:Aung San in uniform.jpg|thumb|200px|อองซาน]]
'''พลตรี อองซาน''' ({{lang-my|အောင်ဆန်း}}) หรือ '''อู้อองซาน''' ({{lang|my|ဦးအောင်ဆန်း}}; 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2458 – 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2490) เป็นนักปฏิวัติ นายพล และนักการเมืองของ[[ประเทศพม่า]] ได้รับการยกย่องเป็นบิดาแห่งประเทศพม่าในยุคปัจจุบัน หรือ "วีรบุรุษเพื่ออิสรภาพของประเทศพม่า"<ref>[http://www.wattanachurch.org/index.php/pastor-pages/99-paster-pages-aung-san-suu-kyi ภารกิจต่อแผ่นดิน : อองซานซูจี]</ref>
'''พลตรี อองซาน''' ({{lang-my|အောင်ဆန်း}}, {{IPA-my|àʊɴ sʰáɴ|pron}}) หรือ '''อู้อองซาน''' ({{lang|my|ဦးအောင်ဆန်း}}; 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2458 – 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2490) เป็นนักปฏิวัติ นายพล และนักการเมืองของ[[ประเทศพม่า]] ได้รับการยกย่องเป็นบิดาแห่งประเทศพม่าในยุคปัจจุบัน หรือ "วีรบุรุษเพื่ออิสรภาพของประเทศพม่า"<ref>[http://www.wattanachurch.org/index.php/pastor-pages/99-paster-pages-aung-san-suu-kyi ภารกิจต่อแผ่นดิน : อองซานซูจี]</ref>


อองซานเกิดในครอบครัวที่ต่อต้านการปกครองของ[[สหราชอาณาจักร]] ซึ่งในช่วงนั้นพม่าเป็นส่วนหนึ่งของ[[ประเทศอินเดีย]]ที่เป็น[[อาณานิคม]]ของสหราชอาณาจักร เข้าศึกษาที่[[มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง]] ซึ่งได้แสดงความเคลื่อนไหวทางการเมือง และได้รับเลือกให้เป็นผู้นำนักศึกษา
อองซานเกิดในครอบครัวที่ต่อต้านการปกครองของ[[สหราชอาณาจักร]] ซึ่งในช่วงนั้นพม่าเป็นส่วนหนึ่งของ[[ประเทศอินเดีย]]ที่เป็น[[อาณานิคม]]ของสหราชอาณาจักร เข้าศึกษาที่[[มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง]] ซึ่งได้แสดงความเคลื่อนไหวทางการเมือง และได้รับเลือกให้เป็นผู้นำนักศึกษา
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2490 (ค.ศ. 1947) อองซานเซ็นสัญญากับสหราชอาณาจักรว่าจะมอบเอกราชให้กับพม่าภายในหนึ่งปี แต่ระหว่างการประชุมสภาเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 อองซานถูกลอบสังหารพร้อมกับสมาชิกสภาอีก 6 คน โดยพบว่าเป็นฝีมือของ[[อู้ซอ]]ซึ่งเป็นคู่แข่งทางการเมืองของอองซาน อู้ซอถูกประหารชีวิต อองซานเสียชีวิตเมื่อมีอายุแค่เพียง 32 ปี และยังไม่ทันเห็นเอกราชของพม่าในวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948)
ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2490 (ค.ศ. 1947) อองซานเซ็นสัญญากับสหราชอาณาจักรว่าจะมอบเอกราชให้กับพม่าภายในหนึ่งปี แต่ระหว่างการประชุมสภาเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 อองซานถูกลอบสังหารพร้อมกับสมาชิกสภาอีก 6 คน โดยพบว่าเป็นฝีมือของ[[อู้ซอ]]ซึ่งเป็นคู่แข่งทางการเมืองของอองซาน อู้ซอถูกประหารชีวิต อองซานเสียชีวิตเมื่อมีอายุแค่เพียง 32 ปี และยังไม่ทันเห็นเอกราชของพม่าในวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948)


ปัจจุบัน [[อองซานซูจี]] บุตรสาวของอองซานเป็นผู้นำที่มีบทบาทสำคัญในรัฐบาลพลเรือนของพม่า<ref>Maung Maung (1962). ''Aung San of Burma''. The Hauge: Martinus Nijhoff for Yale University. pp. 22, 23.</ref>
ปัจจุบัน [[อองซานซูจี]] บุตรสาวของอองซาน เป็นผู้นำที่มีบทบาทสำคัญในรัฐบาลพลเรือนของพม่า<ref>Maung Maung (1962). ''Aung San of Burma''. The Hauge: Martinus Nijhoff for Yale University. pp. 22, 23.</ref>
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Aung San|อองซาน}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Aung San|อองซาน}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:26, 8 มกราคม 2562

อองซาน

พลตรี อองซาน (พม่า: အောင်ဆန်း, ออกเสียง: [àʊɴ sʰáɴ]) หรือ อู้อองซาน (ဦးအောင်ဆန်း; 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2458 – 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2490) เป็นนักปฏิวัติ นายพล และนักการเมืองของประเทศพม่า ได้รับการยกย่องเป็นบิดาแห่งประเทศพม่าในยุคปัจจุบัน หรือ "วีรบุรุษเพื่ออิสรภาพของประเทศพม่า"[1]

อองซานเกิดในครอบครัวที่ต่อต้านการปกครองของสหราชอาณาจักร ซึ่งในช่วงนั้นพม่าเป็นส่วนหนึ่งของประเทศอินเดียที่เป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักร เข้าศึกษาที่มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง ซึ่งได้แสดงความเคลื่อนไหวทางการเมือง และได้รับเลือกให้เป็นผู้นำนักศึกษา

พ.ศ. 2484 (ค.ศ. 1941) อองซานได้รับการสนับสนุนจากประเทศญี่ปุ่น โดยได้ก่อตั้งกองกำลังปลดปล่อยพม่าที่กรุงเทพมหานคร ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นสามารถยึดพม่าจากสหราชอาณาจักรได้และวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2486 (ค.ศ. 1943) ญี่ปุ่นได้ประกาศว่าพม่าเป็นประเทศเอกราช และตั้งอองซานเป็นนายกรัฐมนตรี

อองซานพบว่าเอกราชที่ญี่ปุ่นสัญญาไว้ไม่เป็นความจริง ในช่วงปลายสงครามโลก จึงได้กลับไปเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรเพื่อขับไล่ญี่ปุ่นออกไปจากพม่า

ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2490 (ค.ศ. 1947) อองซานเซ็นสัญญากับสหราชอาณาจักรว่าจะมอบเอกราชให้กับพม่าภายในหนึ่งปี แต่ระหว่างการประชุมสภาเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 อองซานถูกลอบสังหารพร้อมกับสมาชิกสภาอีก 6 คน โดยพบว่าเป็นฝีมือของอู้ซอซึ่งเป็นคู่แข่งทางการเมืองของอองซาน อู้ซอถูกประหารชีวิต อองซานเสียชีวิตเมื่อมีอายุแค่เพียง 32 ปี และยังไม่ทันเห็นเอกราชของพม่าในวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948)

ปัจจุบัน อองซานซูจี บุตรสาวของอองซาน เป็นผู้นำที่มีบทบาทสำคัญในรัฐบาลพลเรือนของพม่า[2]

อ้างอิง

  1. ภารกิจต่อแผ่นดิน : อองซานซูจี
  2. Maung Maung (1962). Aung San of Burma. The Hauge: Martinus Nijhoff for Yale University. pp. 22, 23.