ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลื้มจิตร์ ถินขาว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BLOCK LOVERY (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขของ BLOCK LOVERY (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Lerdsuwa
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
| ชื่อเล่น = หน่อง
| ชื่อเล่น = หน่อง
| ชื่ออื่น = นิ้งหน่อง
| ชื่ออื่น = นิ้งหน่อง
| วันเกิด = [[31 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2549]]
| วันเกิด = [[9 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2526]]
| จังหวัด = [[อ่างทอง]]
| จังหวัด = [[อ่างทอง]]
| ประเทศ = {{THA}}
| ประเทศ = {{THA}}
| อายุ = {{อายุ|2549|12|31}}
| อายุ = {{อายุ|2526|11|9|2560|11|19}}
| สูง = 187
| สูง = 183
| หนัก = 35
| หนัก = 62
| การศึกษา = [[โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)]]
| การศึกษา = [[มหาวิทยาลัยกรุงเทพ]]
| ตำแหน่ง = บอลเร็ว
| ตำแหน่ง = บอลเร็ว
| รูปแบบการเล่น = บอลเร็ว
| รูปแบบการเล่น = บอลเร็ว
| ปัจจุบันเล่นให้กับ = [[สโมสรวอลเลย์บอลสุพรีม ชลบุรี|สุพรีม ชลบุรี อีเทค]]
| ปัจจุบันเล่นให้กับ = [[สโมสรวอลเลย์บอลบางกอกกล๊าส|บางกอกกล๊าส]]
| ติดทีมชาติเมื่อ = [[พ.ศ. 2558]]-ปัจจุบัน
| ติดทีมชาติเมื่อ = [[พ.ศ. 2540]]-ปัจจุบัน
| เว็บ = [http://www.pleumjitfanclub.com www.pleumjitfanclub.com]
| เว็บ = [http://www.pleumjitfanclub.com www.pleumjitfanclub.com]
| เพิ่มเติม =
| เพิ่มเติม =
}}
}}


'''ปลื้มจิตร์ ถินขาว''' (31 ธันวาคม พ.ศ. 2549) เป็นนักกีฬา[[วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย]] ผู้ทำหน้าที่ในตำแหน่งบอลกลาง และมีโอกาสไปแข่งขันวอลเลย์บอลอาชีพในต่างประเทศ ปัจจุบันทำหน้าที่เป็นกัปตันนัก[[วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย]]
'''ปลื้มจิตร์ ถินขาว''' (9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526 — ) เป็นนักกีฬา[[วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย]] ผู้ทำหน้าที่ในตำแหน่งบอลกลาง และมีโอกาสไปแข่งขันวอลเลย์บอลอาชีพในต่างประเทศ

== ประวัติ ==
ปลื้มจิตร์ เกิดที่[[อำเภอไชโย]] [[จังหวัดอ่างทอง]] เป็นบุตรสาวของวันชัย (บิดา) และสมฤดี (มารดา) มีพี่ชายชื่อพีรเวท จบการศึกษามัธยมต้นจากโรงเรียนอ่างทองปัทมโรจน์วิทยาคม มัธยมปลายจาก[[โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)]] ปริญญาตรีและโท จากคณะบริหารธุรกิจ [[มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต]] เมื่อจบการศึกษา ก็บรรจุเข้าเป็นพนักงานรัฐวิสาหกิจ ในตำแหน่งนักการตลาด กองนโยบายและแผน ของ[[การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค]]และตอนนี้กำลังศึกษาต่อปริญญาโท มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ปลื้มจิตร์เริ่มเล่นวอลเลย์บอลตั้งแต่อายุ 14 ปี ขณะเรียนอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่จังหวัดอ่างทอง เคยเข้าแข่งขันระดับอาชีพ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน (สโมสรหงเหอ และ ฟูเจี้ยน เซียะเหมิน), รัสเซีย (สโมสรอาอูรูม), เวียดนาม (สโมสรทันเห่า), ตุรกี (สโมสร Konya Eregli) ปัจจุบัน (2555-2556) ปลื้มจิตร์เล่นให้แก่สโมสร[[อิกติซาดชิ บากู]] ใน[[ประเทศอาเซอร์ไบจาน]] นอกจากนี้ ยังเคยร่วมถ่ายทำภาพยนตร์โฆษณา กับสายการบิน[[แอร์เอเชีย]] ในปี พ.ศ. 2555 และ น้ำยาล้างจาน ไลปอนเอฟ , แปรงจัดฟัน SYSTEMA OD. ในปี พ.ศ. 2557 <ref>[http://www.youtube.com/watch?v=-Bz6M7gTo3M ปลื้มจิตร์กับปรากฏการณ์พลังเร็วมหาประลัย]</ref> , <ref>[http://www.youtube.com/watch?feature=trueview-instream&v=LCes9Eib8uI SYSTEMA OD. นวัตกรรมล่าสุด! ของแปรงจัดฟัน ขจัดพลัคได้เหนือกว่า]</ref>

== รางวัล ==
* รางวัล Top Talk-About Sportswoman 2012 นักกีฬาหญิงที่ถูกกล่าวถึงมากที่สุด จากเว็บไซต์ MThai.com
* อันดับ 13 (จาก 24 ทีม) [[วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2010]] ที่ประเทศญี่ปุ่น
* แชมป์ [[วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2009]] ที่ประเทศเวียดนาม
* อันดับ 3 [[วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2007]] (พ.ศ. 2550) ที่ประเทศไทย (ได้สิทธิ์แข่ง[[วอลเลย์บอลเวิลด์คัพ 2007]] และ[[วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2008]] ที่ประเทศญี่ปุ่น)
* แชมป์ปริ๊นเซส คัพ แสงโสมวีเม่น วอลเลย์บอล อินวิเตชั่น ครั้งที่ 13 (พ.ศ. 2549) ที่ประเทศไทย คว้าอันดับ 1 ได้ในรอบ 24 ปี โดยเอาชนะเวียดนามได้ 3 - 0 เซต
* อันดับ 10 (จาก 12 ทีม) ในการแข่งขัน[[วอลเลย์บอลเวิลด์คัพ 2007]] ที่ประเทศญี่ปุ่น
* พ.ศ. 2555 รางวัลสุดยอดนักกีฬาขวัญใจมหาชน สยามกีฬาอวอร์ดส์ ครั้งที่ 6<ref>'''สยามกีฬารายวัน''', ปีที่ 27 ฉบับที่ 9865, วันพุธที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2555</ref>
* พ.ศ. 2557 นักกีฬาหญิงที่แฟนกีฬาชื่นชอบมากที่สุด อันดับที่ 1 (ร้อยละ 54.58) โดยสวนดุสิตโพล<ref>{{cite web|url=http://www.siamsport.co.th/othersports/view.php?code=141230220030|title= ชัปปุยส์-ปลื้มจิตร์ ครองใจแฟนกีฬาปี 57 |author=|date= 30 ธันวาคม 2557 |accessdate= 30 ธันวาคม 2557 |publisher=สยามกีฬา}}</ref>

==== วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชียนคัพ ====
* พ.ศ. 2555 (อันดับ 1) ที่ประเทศคาซัคสถาน
* พ.ศ. 2553 (อันดับ 2) ที่ประเทศจีน
* พ.ศ. 2551 (อันดับ 3) ที่จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย

==== วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมเปี้ยนคัพ ====
* พ.ศ. 2556 (อันดับ 5) ประเทศไทยในฐานะแชมป์ทวีปเอเชีย

==== วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ ====
* พ.ศ. 2556 (อันดับ 13)
* พ.ศ. 2555 (อันดับ 4)
* พ.ศ. 2554 (อันดับ 6)
* พ.ศ. 2553 (อันดับ 10)
* พ.ศ. 2552 (อันดับ 8)
* พ.ศ. 2551 (อันดับ 11)
* พ.ศ. 2549 (อันดับ 11)
* พ.ศ. 2548 (อันดับ 12)
* พ.ศ. 2547 (อันดับ 10)
* พ.ศ. 2546 (อันดับ 9)
* พ.ศ. 2545 (อันดับ 8)

==== วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย ====
* พ.ศ. 2556 (อันดับ 1) ที่จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย
* พ.ศ. 2554 (อันดับ 4)
* พ.ศ. 2552 (อันดับ 1)
* พ.ศ. 2550 (อันดับ 3)
* พ.ศ. 2548 (อันดับ 6)
* พ.ศ. 2546 (อันดับ 4)
* พ.ศ. 2544 (อันดับ 3)

==== ซีเกมส์ ====
* แชมป์ซีเกมส์ ครั้งที่ 26 อินโดนีเซีย ปี 2011
* แชมป์ซีเกมส์ ครั้งที่ 25 ลาว ปี 2009
* แชมป์ซีเกมส์ ครั้งที่ 24 ไทย ปี 2007
* แชมป์[[ซีเกมส์]] ครั้งที่ 23 ฟิลิปปินส์ ปี 2005
* แชมป์ซีเกมส์ ครั้งที่ 22 เวียดนาม ปี 2003
* แชมป์ซีเกมส์ ครั้งที่ 21 มาเลเซีย ปี 2001

==== กีฬามหาวิทยาลัยโลก ====
* ครั้งที่ 24 พ.ศ. 2550 ที่กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย (อันดับ 4)
===เอเชียนเกมส์ ===
* พ.ศ. 2557 เหรียญทองแดง เอเชียนเกมส์ 2014 ที่ประเทศเกาหลีใต้

== รางวัลที่ได้รับ ==
* พ.ศ. 2550 ตัวบล็อกยอดเยี่ยม ในการแข่งขัน[[วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2007]]
* พ.ศ. 2550 เสริฟยอดเยี่ยม ในการแข่งขัน[[2007 Asian Women's Club Volleyball Championship|วอลเลย์บอลสโมสรหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2007]]
* พ.ศ. 2556 ตัวบล็อกยอดเยี่ยม ในการแข่งขัน [[2013 FIVB Volleyball Women's World Grand Champions Cup]]
* พ.ศ. 2557 ตัวตบยอดเยี่ยม ในการแข่งขัน [[2013–14 Azerbaijan Women's Volleyball Super League]]
* พ.ศ. 2558 ผู้เล่นทรงคุณค่า และตัวบล็อกยอดเยี่ยมในการแข่งขัน[[วอลเลย์บอลหญิงไทยแลนด์ลีก 2014-15]]
* พ.ศ. 2558 ตัวบล็อกยอดเยี่ยม ในการแข่งขัน[[วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2015]]
* พ.ศ. 2558 ผู้เล่นทรงคุณค่า ในการแข่งขัน[[วอลเลย์บอลสโมสรหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2015]]

== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
* [[พ.ศ. 2556]] - [[ไฟล์:Order of the White Elephant - 3rd Class (Thailand) ribbon.png|80px]] [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก]] ชั้น[[ตริตาภรณ์ช้างเผือก]] (ต.ช.)<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2556/B/022/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ให้แก่นักกีฬาวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทยและเจ้าหน้าที่] เล่ม ๑๓๐ ตอนที่ ๒๒ ข ๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๖ หน้า ๑</ref>
* [[พ.ศ. 2553]] - [[ไฟล์:Order of the Direkgunabhorn 3rd class (Thailand) ribbon.png|80px]] [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์]] ชั้น[[ตติยดิเรกคุณาภรณ์]] (ต.ภ.)<ref>[http://www.siamsport.co.th/sport_volleyball/111014_277.html 20 นักตบปลื้มรับเครื่องราชฯทำคุณประโยชน์ด้านกีฬา]</ref>
* [[พ.ศ. 2548]] - [[ไฟล์:Order of the Direkgunabhorn 5th class (Thailand) ribbon.png|80px]] [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์]] ชั้น[[เบญจมดิเรกคุณาภรณ์]] (บ.ภ.)

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* {{commonscat-inline|Pleumjit Thinkaow|ปลื้มจิตร์ ถินขาว}}
<!--* [http://www.pleumjitfanclub.com เว็บบอร์ดแฟนคลับ] ถูกแฮกไปแล้ว ปลดแฮกเมื่อไหร่ค่อยเปิด-->
* {{facebook|P.Thinkaow}}

{{นักวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทยชุดปัจจุบัน}}
{{ทีมอิกติซาดชิ บากู}}

{{อายุขัย|2526}}
[[หมวดหมู่:นักวอลเลย์บอลหญิงชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต]]
[[หมวดหมู่:นักกีฬาเหรียญทองซีเกมส์ชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ต.ภ.]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ต.ช.]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดอ่างทอง]]
[[หมวดหมู่:พนักงานรัฐวิสาหกิจชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:ผู้เล่นสโมสรวอลเลย์บอลอิกติซาดชิ บากู]]
[[หมวดหมู่:นักกีฬาเหรียญทองแดงเอเชียนเกมส์ชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:ตัวบล็อกกลางวอลเลย์บอล]]
[[หมวดหมู่:นักวอลเลย์บอลวัยรุ่นชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:นักกีฬาวัยรุ่นชาวไทย]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:32, 27 ธันวาคม 2561

ปลื้มจิตร์ ถินขาว

ปลื้มจิตร์ ถินขาว (9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526 — ) เป็นนักกีฬาวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย ผู้ทำหน้าที่ในตำแหน่งบอลกลาง และมีโอกาสไปแข่งขันวอลเลย์บอลอาชีพในต่างประเทศ

ประวัติ

ปลื้มจิตร์ เกิดที่อำเภอไชโย จังหวัดอ่างทอง เป็นบุตรสาวของวันชัย (บิดา) และสมฤดี (มารดา) มีพี่ชายชื่อพีรเวท จบการศึกษามัธยมต้นจากโรงเรียนอ่างทองปัทมโรจน์วิทยาคม มัธยมปลายจากโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ปริญญาตรีและโท จากคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต เมื่อจบการศึกษา ก็บรรจุเข้าเป็นพนักงานรัฐวิสาหกิจ ในตำแหน่งนักการตลาด กองนโยบายและแผน ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคและตอนนี้กำลังศึกษาต่อปริญญาโท มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ปลื้มจิตร์เริ่มเล่นวอลเลย์บอลตั้งแต่อายุ 14 ปี ขณะเรียนอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่จังหวัดอ่างทอง เคยเข้าแข่งขันระดับอาชีพ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน (สโมสรหงเหอ และ ฟูเจี้ยน เซียะเหมิน), รัสเซีย (สโมสรอาอูรูม), เวียดนาม (สโมสรทันเห่า), ตุรกี (สโมสร Konya Eregli) ปัจจุบัน (2555-2556) ปลื้มจิตร์เล่นให้แก่สโมสรอิกติซาดชิ บากู ในประเทศอาเซอร์ไบจาน นอกจากนี้ ยังเคยร่วมถ่ายทำภาพยนตร์โฆษณา กับสายการบินแอร์เอเชีย ในปี พ.ศ. 2555 และ น้ำยาล้างจาน ไลปอนเอฟ , แปรงจัดฟัน SYSTEMA OD. ในปี พ.ศ. 2557 [1] , [2]

รางวัล

วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชียนคัพ

  • พ.ศ. 2555 (อันดับ 1) ที่ประเทศคาซัคสถาน
  • พ.ศ. 2553 (อันดับ 2) ที่ประเทศจีน
  • พ.ศ. 2551 (อันดับ 3) ที่จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย

วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมเปี้ยนคัพ

  • พ.ศ. 2556 (อันดับ 5) ประเทศไทยในฐานะแชมป์ทวีปเอเชีย

วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์

  • พ.ศ. 2556 (อันดับ 13)
  • พ.ศ. 2555 (อันดับ 4)
  • พ.ศ. 2554 (อันดับ 6)
  • พ.ศ. 2553 (อันดับ 10)
  • พ.ศ. 2552 (อันดับ 8)
  • พ.ศ. 2551 (อันดับ 11)
  • พ.ศ. 2549 (อันดับ 11)
  • พ.ศ. 2548 (อันดับ 12)
  • พ.ศ. 2547 (อันดับ 10)
  • พ.ศ. 2546 (อันดับ 9)
  • พ.ศ. 2545 (อันดับ 8)

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย

  • พ.ศ. 2556 (อันดับ 1) ที่จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย
  • พ.ศ. 2554 (อันดับ 4)
  • พ.ศ. 2552 (อันดับ 1)
  • พ.ศ. 2550 (อันดับ 3)
  • พ.ศ. 2548 (อันดับ 6)
  • พ.ศ. 2546 (อันดับ 4)
  • พ.ศ. 2544 (อันดับ 3)

ซีเกมส์

  • แชมป์ซีเกมส์ ครั้งที่ 26 อินโดนีเซีย ปี 2011
  • แชมป์ซีเกมส์ ครั้งที่ 25 ลาว ปี 2009
  • แชมป์ซีเกมส์ ครั้งที่ 24 ไทย ปี 2007
  • แชมป์ซีเกมส์ ครั้งที่ 23 ฟิลิปปินส์ ปี 2005
  • แชมป์ซีเกมส์ ครั้งที่ 22 เวียดนาม ปี 2003
  • แชมป์ซีเกมส์ ครั้งที่ 21 มาเลเซีย ปี 2001

กีฬามหาวิทยาลัยโลก

  • ครั้งที่ 24 พ.ศ. 2550 ที่กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย (อันดับ 4)

เอเชียนเกมส์

  • พ.ศ. 2557 เหรียญทองแดง เอเชียนเกมส์ 2014 ที่ประเทศเกาหลีใต้

รางวัลที่ได้รับ

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. ปลื้มจิตร์กับปรากฏการณ์พลังเร็วมหาประลัย
  2. SYSTEMA OD. นวัตกรรมล่าสุด! ของแปรงจัดฟัน ขจัดพลัคได้เหนือกว่า
  3. สยามกีฬารายวัน, ปีที่ 27 ฉบับที่ 9865, วันพุธที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2555
  4. "ชัปปุยส์-ปลื้มจิตร์ ครองใจแฟนกีฬาปี 57". สยามกีฬา. 30 ธันวาคม 2557. สืบค้นเมื่อ 30 ธันวาคม 2557. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  5. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ให้แก่นักกีฬาวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทยและเจ้าหน้าที่ เล่ม ๑๓๐ ตอนที่ ๒๒ ข ๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๖ หน้า ๑
  6. 20 นักตบปลื้มรับเครื่องราชฯทำคุณประโยชน์ด้านกีฬา

แหล่งข้อมูลอื่น