ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าเหยา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
วณิพก (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
วณิพก (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
{{เริ่มกล่อง}}
{{เริ่มกล่อง}}
{{สืบตำแหน่ง
{{สืบตำแหน่ง
| ตำแหน่ง = [[จักรพรรดิจีน]]
| ตำแหน่ง = [[จักรพรรดิจีน]] </br> <small>[[สามราชาห้าจักรพรรดิ]]</small>
| จำนวนตำแหน่ง =
| จำนวนตำแหน่ง =
| ก่อนหน้า = [[พระเจ้าจื้อ]]
| ก่อนหน้า = [[พระเจ้าจื้อ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:10, 26 ธันวาคม 2561

พระเจ้าเหยา
พระเจ้าเหยา
ครองราชย์2333 ปีก่อนคริสตกาล–2234 ปีก่อนคริสตกาล (99 ปี)[1]
ก่อนหน้าพระเจ้าจื้อ
ถัดไปพระเจ้าชุ่น
ประสูติ2356 ปีก่อนคริสตกาล
เมืองเกาโหยว มณฑลเจียงซู หรือเมืองเทียนฉาง มณฑลอานฮุย
สวรรคต2255 ปีก่อนคริสตกาล (101 พรรษา)
คู่อภิเษกซ่านอี๋ (พระสนม)
พระราชบุตรตานจู
เอ๋อหฺวาง
นฺหวี่อิง
พระราชบิดาพระเจ้าคู่
พระเจ้าเหยา

พระเจ้าเหยา (จีนตัวย่อ: ; จีนตัวเต็ม: ; พินอิน: Yáo; เวด-ไจลส์: Yao), (ตามตำนาน 2356-2255 ก่อนคริสตกาล)[2] คือ ผู้ปกครองจีนตามตำนาน ในยุคสามกษัตริย์ห้าจักรพรรดิ ชื่ออื่นที่เรียกกันได้แก่ เถาถัง ซื่อ (陶唐氏) หรือ ถัง เหยา (唐堯) เมื่อแรกเกิดมีนามว่า อี ฟ่างซวิน (伊放勳) หรือ อี ฉี (伊祁) เป็นพระราชโอรสองค์ที่สองของจักรพรรดิคู่

พระเจ้าเหยามักได้รับยกย่องว่าเป็นพระมหากษัตริย์ที่สมบูรณ์แบบและมีคุณธรรมอย่างสูง เป็นผู้เฉลียวฉลาดและเป็นแบบอย่างแก่จักรพรรดิราชวงศ์ต่าง ๆ ของจีนในเวลาต่อมา ประวัติศาสตร์จีนในยุคต้นมักเอ่ยถึงพระเจ้าเหยา พระเจ้าซุ่น และพระเจ้าอวี่ ว่าเป็นบุคคลสำคัญ นักประวัติศาสตร์ปัจจุบันเชื่อว่าทั้งสามอาจเป็นหัวหน้าเผ่าที่ก่อตั้งระบบการปกครองที่เป็นหนึ่งเดียวและมีระบบลำดับชั้นในช่วงยุคเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมศักดินา

ตามตำนานเล่าว่า เหยาขึ้นเป็นผู้ปกครองเมื่ออายุ 20 ปี และสวรรคตเมื่ออายุ 119 ปี และมอบบัลลังก์ให้กับซุ่น ซึ่งสมรสกับพระราชธิดาของพระองค์ทั้ง 2 คน

อ้างอิง

  1. บันทึกประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่
  2. Ching, Julia (1991). Sages and filial sons: mythology and archaeology in ancient China. The Chinese University Press. p. 140. ISBN 978-9622014695. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
ก่อนหน้า พระเจ้าเหยา ถัดไป
พระเจ้าจื้อ จักรพรรดิจีน
สามราชาห้าจักรพรรดิ

พระเจ้าชุ่น