ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไฟรคอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tvcccp ย้ายหน้า ไฟร์คอรพ์ ไปยัง ไฟรคอร์
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
 
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[File:FreikorpsBerlinStahlhelmM18TuerkischeForm.jpg|thumb|300px|กองกำลังกึ่งทหาร''ไฟร์คอรพ์'' ใน[[สาธารณรัฐไวมาร์]] ในปี ค.ศ. 1919]]
[[ไฟล์:FreikorpsBerlinStahlhelmM18TuerkischeForm.jpg|thumb|300px|กองกำลังกึ่งทหาร''ไฟร์คอรพ์'' ใน[[สาธารณรัฐไวมาร์]] ในปี ค.ศ. 1919]]


'''ไฟร์คอร์พ์'''({{IPA-de|ˈfʁaɪˌkoːɐ̯|lang}}, "เหล่าทหารเสรี") เป็นทหารอาสาสมัครเยอรมันซึ่งมีอยู่ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ถึงต้นศตวรรษที่ 20 ซึ่งต่อสู้รบได้อย่างมีประสิทธิภาพในฐานะทหารรับจ้างหรือกองกำลังส่วนตัวโดยไม่คำนึงถึงชาติของตนเอง ในประเทศที่พูดภาษาเยอรมัน ครั้งแรกเรียกว่า ไฟร์คอรพ์("กรมทหารเสรี", {{lang-de|Freie Regimenter}}) ถูกก่อตั้งในศตวรรษที่ 18 จากอาสาสมัครชาวพื้นเมือง ศัตรูที่แปรพักตร์ และพวกหนีทัพ บางครั้งก็มีหน่วยที่ทำหน้าที่เป็นทหารราบ และทหารม้า(หรือมากกว่านั้นคือ หน่วยทหารปืนใหญ่) บางครั้งก็เป็นจุดแข็งของกองร้อย บางครั้งในรูปแบบถึงหลายพันนายที่แข็งแกร่ง ก็ยังมีความหลากหลายรูปแบบหรือกองทหาร ฟ็อน ไคลสท์ ไฟร์คอรพ์ของปรัสเซียได้รวมถึงทหารราบ, จือเกอร์(jäger), ดรากูนส(dragoons) และฮุสซาร์ส(hussars) ส่วนVolontaires de Saxe ของฝรั่งเศสจะประกอบไปด้วย Uhlan(ทหารม้าเบา)และดรากูนส
'''ไฟรคอร์''' ({{IPA-de|ˈfʁaɪˌkoːɐ̯|lang}}, "เหล่าทหารเสรี") เป็นทหารอาสาสมัครเยอรมันซึ่งมีอยู่ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ถึงต้นศตวรรษที่ 20 ซึ่งต่อสู้รบได้อย่างมีประสิทธิภาพในฐานะทหารรับจ้างหรือกองกำลังส่วนตัวโดยไม่คำนึงถึงชาติของตนเอง ในประเทศที่พูดภาษาเยอรมัน ครั้งแรกเรียกว่า ไฟร์คอรพ์ ("กรมทหารเสรี", {{lang-de|Freie Regimenter}}) ถูกก่อตั้งในศตวรรษที่ 18 จากอาสาสมัครชาวพื้นเมือง ศัตรูที่แปรพักตร์ และพวกหนีทัพ บางครั้งก็มีหน่วยที่ทำหน้าที่เป็นทหารราบ และทหารม้า (หรือมากกว่านั้นคือ หน่วยทหารปืนใหญ่) บางครั้งก็เป็นจุดแข็งของกองร้อย บางครั้งในรูปแบบถึงหลายพันนายที่แข็งแกร่ง ก็ยังมีความหลากหลายรูปแบบหรือกองทหาร ฟ็อน ไคลสท์ ไฟร์คอรพ์ของปรัสเซียได้รวมถึงทหารราบ, จือเกอร์ (jäger), ดรากูนส (dragoons) และฮุสซาร์ส (hussars) ส่วนVolontaires de Saxe ของฝรั่งเศสจะประกอบไปด้วย Uhlan (ทหารม้าเบา) และดรากูนส


ในช่วงหลัง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]และในช่วง[[การปฏิวัติเยอรมัน ค.ศ. 1918-1919]] ไฟร์คอรพ์ส่วนใหญ่ประกอบด้วยทหารผ่านศึกในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งได้ถูกยกขึ้นเป็นกองกำลังกึ่งทหารอาสาสมัครปีก-ขวา เห็นได้อย่างชัดเจนว่าจะต่อสู้ในนามของรัฐบาล<ref>{{cite book|last1=Haffner|first1=Sebastian|title=Defying Hitler|date=2000|publisher=Picador|isbn=0-312-42113-3|pages=30-31, 33}}</ref> ต่อต้านพวกเยอรมันนิยมคอมมิวนิสต์ที่ได้รับการหนุนหลังจาก[[โซเวียต]]ที่ได้พยายามจะโค่นล้ม[[สาธารณรัฐไวมาร์]]<ref> William L. Shirer, ''The Rise and Fall of the Third Reich: A History of Nazi Germany'', New York, NY, Simon & Schuster, 2011, p. 55</ref><ref>{{cite book|last1=Heiden|first1=Konrad|title=Der Fuehrer: Hitler's Rise to Power|date=1944|publisher=Houghton Mifflin Company|location=Boston, MA|pages=21-22}}</ref> อย่างไรก็ตาม, พวกไฟร์คอรพ์ส่วนใหญ่ล้วนเกลียดชังสาธารณรัฐและมีส่วนร่วมในการลอบสังหารผู้ให้การสนับสนุน<ref>{{cite book|last1=Heiden|first1=Konrad|title=Der Fuehrer: Hitler's Rise to Power|date=1944|publisher=Houghton Mifflin Company|location=Boston, MA|pages=23-24}}</ref><ref>{{cite book|last1=Heiden|first1=Konrad|title=Der Fuehrer: Hitler's Rise to Power|date=1944|publisher=Houghton Mifflin Company|location=Boston, MA|pages=88-89}}</ref> รางวัลของพวกไฟร์คอรพ์ทั้งหมดก็มียังคงมีอยู่
ในช่วงหลัง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]และในช่วง[[การปฏิวัติเยอรมัน ค.ศ. 1918-1919]] ไฟร์คอรพ์ส่วนใหญ่ประกอบด้วยทหารผ่านศึกในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งได้ถูกยกขึ้นเป็นกองกำลังกึ่งทหารอาสาสมัครปีก-ขวา เห็นได้อย่างชัดเจนว่าจะต่อสู้ในนามของรัฐบาล<ref>{{cite book|last1=Haffner|first1=Sebastian|title=Defying Hitler|date=2000|publisher=Picador|isbn=0-312-42113-3|pages=30-31, 33}}</ref> ต่อต้านพวกเยอรมันนิยมคอมมิวนิสต์ที่ได้รับการหนุนหลังจาก[[โซเวียต]]ที่ได้พยายามจะโค่นล้ม[[สาธารณรัฐไวมาร์]]<ref> William L. Shirer, ''The Rise and Fall of the Third Reich: A History of Nazi Germany'', New York, NY, Simon & Schuster, 2011, p. 55</ref><ref>{{cite book|last1=Heiden|first1=Konrad|title=Der Fuehrer: Hitler's Rise to Power|date=1944|publisher=Houghton Mifflin Company|location=Boston, MA|pages=21-22}}</ref> อย่างไรก็ตาม, พวกไฟร์คอรพ์ส่วนใหญ่ล้วนเกลียดชังสาธารณรัฐและมีส่วนร่วมในการลอบสังหารผู้ให้การสนับสนุน<ref>{{cite book|last1=Heiden|first1=Konrad|title=Der Fuehrer: Hitler's Rise to Power|date=1944|publisher=Houghton Mifflin Company|location=Boston, MA|pages=23-24}}</ref><ref>{{cite book|last1=Heiden|first1=Konrad|title=Der Fuehrer: Hitler's Rise to Power|date=1944|publisher=Houghton Mifflin Company|location=Boston, MA|pages=88-89}}</ref> รางวัลของพวกไฟร์คอรพ์ทั้งหมดก็มียังคงมีอยู่


<br />
<br />
==อ้างอิง==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}



รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 18:33, 24 ธันวาคม 2561

กองกำลังกึ่งทหารไฟร์คอรพ์ ในสาธารณรัฐไวมาร์ ในปี ค.ศ. 1919

ไฟรคอร์ (ภาษาเยอรมัน: [ˈfʁaɪˌkoːɐ̯], "เหล่าทหารเสรี") เป็นทหารอาสาสมัครเยอรมันซึ่งมีอยู่ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ถึงต้นศตวรรษที่ 20 ซึ่งต่อสู้รบได้อย่างมีประสิทธิภาพในฐานะทหารรับจ้างหรือกองกำลังส่วนตัวโดยไม่คำนึงถึงชาติของตนเอง ในประเทศที่พูดภาษาเยอรมัน ครั้งแรกเรียกว่า ไฟร์คอรพ์ ("กรมทหารเสรี", เยอรมัน: Freie Regimenter) ถูกก่อตั้งในศตวรรษที่ 18 จากอาสาสมัครชาวพื้นเมือง ศัตรูที่แปรพักตร์ และพวกหนีทัพ บางครั้งก็มีหน่วยที่ทำหน้าที่เป็นทหารราบ และทหารม้า (หรือมากกว่านั้นคือ หน่วยทหารปืนใหญ่) บางครั้งก็เป็นจุดแข็งของกองร้อย บางครั้งในรูปแบบถึงหลายพันนายที่แข็งแกร่ง ก็ยังมีความหลากหลายรูปแบบหรือกองทหาร ฟ็อน ไคลสท์ ไฟร์คอรพ์ของปรัสเซียได้รวมถึงทหารราบ, จือเกอร์ (jäger), ดรากูนส (dragoons) และฮุสซาร์ส (hussars) ส่วนVolontaires de Saxe ของฝรั่งเศสจะประกอบไปด้วย Uhlan (ทหารม้าเบา) และดรากูนส

ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและในช่วงการปฏิวัติเยอรมัน ค.ศ. 1918-1919 ไฟร์คอรพ์ส่วนใหญ่ประกอบด้วยทหารผ่านศึกในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งได้ถูกยกขึ้นเป็นกองกำลังกึ่งทหารอาสาสมัครปีก-ขวา เห็นได้อย่างชัดเจนว่าจะต่อสู้ในนามของรัฐบาล[1] ต่อต้านพวกเยอรมันนิยมคอมมิวนิสต์ที่ได้รับการหนุนหลังจากโซเวียตที่ได้พยายามจะโค่นล้มสาธารณรัฐไวมาร์[2][3] อย่างไรก็ตาม, พวกไฟร์คอรพ์ส่วนใหญ่ล้วนเกลียดชังสาธารณรัฐและมีส่วนร่วมในการลอบสังหารผู้ให้การสนับสนุน[4][5] รางวัลของพวกไฟร์คอรพ์ทั้งหมดก็มียังคงมีอยู่


อ้างอิง[แก้]

  1. Haffner, Sebastian (2000). Defying Hitler. Picador. pp. 30–31, 33. ISBN 0-312-42113-3.
  2. William L. Shirer, The Rise and Fall of the Third Reich: A History of Nazi Germany, New York, NY, Simon & Schuster, 2011, p. 55
  3. Heiden, Konrad (1944). Der Fuehrer: Hitler's Rise to Power. Boston, MA: Houghton Mifflin Company. pp. 21–22.
  4. Heiden, Konrad (1944). Der Fuehrer: Hitler's Rise to Power. Boston, MA: Houghton Mifflin Company. pp. 23–24.
  5. Heiden, Konrad (1944). Der Fuehrer: Hitler's Rise to Power. Boston, MA: Houghton Mifflin Company. pp. 88–89.