ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การปฏิวัติเยอรมัน ค.ศ. 1918–1919"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 54: บรรทัด 54:
| commander2 = {{plainlist|
| commander2 = {{plainlist|
* {{flagicon image|Socialist red flag.svg|20px}} [[โรซา ลุกเซมบวร์ก]]{{executed}}
* {{flagicon image|Socialist red flag.svg|20px}} [[โรซา ลุกเซมบวร์ก]]{{executed}}
* {{flagicon image|Socialist red flag.svg|20px}} [[Karl Liebknecht|คาร์ล ลีบค์เน็คท์]]{{executed}}
* {{flagicon image|Socialist red flag.svg|20px}} [[คาร์ล ลีบค์เน็คท์]]{{executed}}
* {{flagicon image|Socialist red flag.svg|20px}} [[Kurt Eisner|คูร์ท ไอส์เนอร์]]{{KIA}}
* {{flagicon image|Socialist red flag.svg|20px}} [[Kurt Eisner|คูร์ท ไอส์เนอร์]]{{KIA}}
* {{flagicon image|Socialist red flag.svg|20px}} [[Paul Levi|พอล เลวี]]
* {{flagicon image|Socialist red flag.svg|20px}} [[Paul Levi|พอล เลวี]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:09, 24 ธันวาคม 2561

การปฏิวัติเดือนพฤศจิกายน
ส่วนหนึ่งของ การปฏิวัติ ค.ศ. 1917–1923

ทหารได้เข้าหลบที่กำบังเพื่อยิงปะทะในเหตุการณ์การก่อการกำเริบสปาตาคิสท์
วันที่
  • ระยะแรก:
    29 ตุลาคม – 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918
    (1 สัปดาห์ 4 วัน)
  • ระยะที่สอง:
    3 พฤศจิกายน 1918 – 11 สิงหาคม ค.ศ. 1919
    (9 เดือน 1 สัปดาห์)
สถานที่
ผล

สาธารณรัฐไวมาร์ ได้รับชัยชนะ:

คู่สงคราม

จักรวรรดิเยอรมัน (1918)


สาธารณรัฐไวมาร์ (1918–19)

สาธารณรัฐสังคมนิยมเสรีเยอรมัน

Supported by:

ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ

การปฏิวัติเดือนพฤศจิกายน (เยอรมัน: Novemberrevolution) หรือ การปฏิวัติเยอรมัน ค.ศ. 1918-1919 เป็นสงครามกลางเมืองในจักรวรรดิเยอรมันในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสิ้นสุดลงด้วยความพ่ายแพ้ของฝ่ายมหาอำนาจกลาง ซึ่งได้ส่งผลทำให้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญมาเป็นระบอบสาธารณรัฐ (ประชาธิปไตยในระบบสภาเดี่ยว) ซึ่งเวลาต่อมาได้กลายเป็นที่รู้จักกันคือ สาธารณรัฐไวมาร์ การปฏิวัติได้เริ่มขึ้นตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1918 จนถึง เดือนสิงหาคม ค.ศ. 1919 หลังรัฐธรรมนูญแห่งไวมาร์ถูกประกาศใช้

สาเหตุของการปฏิวัติมาจากการรับภาระหนักของประชาชนในช่วงสี่ปีของสงคราม, ผลกระทบที่รุนแรงจากความพ่ายแพ้ของจักรวรรดิเยอรมันและเกิดสภาวะความตรึงเครียดทางสังคมระหว่างประชาชนธรรมดากับขุนนางชนชั้นสูงและชนชั้นกลางของนายทุน, ที่ครองอำนาจและเพิ่งแพ้สงคราม

รากเหง้าของการปฏิวัติได้ถูกวางเอาไว้ในความปราชัยของจักรวรรดิเยอรมันสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและความตึงเครียดทางสังคมที่เกิดขึ้นหลังจากนั้นไม่นาน ขั้นแรกของการปฏิวัติได้ถูกจุดชนวนโดยนโยบายของกองบัญชาการระดับสูงแห่งกองทัพบกเยอรมันและขาดการประสานงานกับกองบัญชาการกองทัพเรือ เมื่อเผชิญความพ่ายแพ้ กองบัญชาการกองทัพเรือได้ยืนยันที่จะพยายามเร่งรัดการสู้รบที่สำคัญกัลกองทัพราชนาวีแห่งอังกฤษโดยคำสั่งกองทัพเรือ เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1918 ยุทธนาวีไม่เคยเกิดขึ้น แทนที่จะปฏิบัติตามคำสั่งของพวกเขาเพื่อเริ่มเตรียมเข้าสู้รบกับอังกฤษ ทหารเรือเยอรมันได้ก่อจลาจลที่ท่าเรือของกองทัพเรือที่ wilhelmshaven เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1918 ตามมาด้วยการก่อกบฏที่คีลในวันแรกของเดือนพฤศจิกายน ความโกลาหลครั้งนี้ได้แพร่กระจายไปถึงจิตวิญญาณของพลเมืองได้เกิดความระส่ำระสายไปทั่วเยอรมนีและท้ายที่สุดได้นำสู่การประกาศสาธารณรัฐ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 หลังจากนั้นไม่นาน จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 ทรงสละราชบัลลังก์ และลี้ภัยออกนอกประเทศ

การปฏิวัติ, ได้รับแรงบันดาลใจจากอุดมการณ์สังคมนิยม ไม่ยอมมอบอำนาจให้กับสภาแบบโซเวียตของพวกบอลเชวิกในรัสเซีย