ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ควร์ท ฟ็อน ชไลเชอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 21: บรรทัด 21:
'''ควร์ท แฟร์ดีนันท์ ฟรีดริช แฮร์มัน ฟ็อน ชไลเชอร์''' ({{lang-de|Kurt Ferdinand Friedrich Hermann von Schleicher}}) เป็นนายพลเยอรมันและ[[นายกรัฐมนตรีเยอรมนี|นายกรัฐมนตรีเยอรมัน]]คนสุดท้ายในช่วง[[สาธารณรัฐไวมาร์]] ผู้มีบทบาทที่สำคัญในความพยายามของกองทัพเยอรมันเพื่อหลีกเลี่ยงข้อจำกัดของ[[สนธิสัญญาแวร์ซาย]] ชไลเชอร์ได้ก้าวขึ้นสู่อำนาจในฐานะที่ปรึกษาใกล้ชิดกับประธานาธิบดี [[เพาล์ ฟ็อน ฮินเดินบวร์ค]] ในปี ค.ศ. 1930 เขาได้กลายเป็นเครื่องมือในการโค่นล้มรัฐบาล[[แฮร์มัน มึลเลอร์]] และแต่งตั้งให้[[ไฮน์ริช บรือนิง]] ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรี
'''ควร์ท แฟร์ดีนันท์ ฟรีดริช แฮร์มัน ฟ็อน ชไลเชอร์''' ({{lang-de|Kurt Ferdinand Friedrich Hermann von Schleicher}}) เป็นนายพลเยอรมันและ[[นายกรัฐมนตรีเยอรมนี|นายกรัฐมนตรีเยอรมัน]]คนสุดท้ายในช่วง[[สาธารณรัฐไวมาร์]] ผู้มีบทบาทที่สำคัญในความพยายามของกองทัพเยอรมันเพื่อหลีกเลี่ยงข้อจำกัดของ[[สนธิสัญญาแวร์ซาย]] ชไลเชอร์ได้ก้าวขึ้นสู่อำนาจในฐานะที่ปรึกษาใกล้ชิดกับประธานาธิบดี [[เพาล์ ฟ็อน ฮินเดินบวร์ค]] ในปี ค.ศ. 1930 เขาได้กลายเป็นเครื่องมือในการโค่นล้มรัฐบาล[[แฮร์มัน มึลเลอร์]] และแต่งตั้งให้[[ไฮน์ริช บรือนิง]] ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรี


ในช่วงเริ่มปี ค.ศ. 1932 เขาได้ทำหน้าที่เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสงครามในคณะรัฐมนตรี[[ฟรันทซ์ ฟ็อน พาเพิน]] ผู้ซึ่งได้สืบทอดเป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม ในช่วงระยะเวลาอันสั้นของเขา ชไลเชอร์ได้เจรจากับ[[เกรกอร์ ชตรัสเซอร์]]ในความเป็นไปได้ที่จะแยกตัวออกจาก[[พรรคนาซี]] แต่แผนการของพวกเขาล้มเหลว ชไลเชอร์ได้เสนอให้ประธานาธิบดีฮินเดินบวร์คทำการแบ่งแยกรัฐสภาไรชส์ทาคและปกครองแบบระบอบเผด็จการโดยพฤตินัย แนวทางของการปฏิบัติถูกฮินเดินบวร์คปฏิเสธ เมื่อวันที่ 28 มกราคม ค.ศ. 1933 การเผชิญหน้ากับความอ่อนแอทางการเมืองและสุขภาพที่ย่ำแย่ ชไลเชอร์ได้ลาออกและแนะนำให้แต่งตั้ง[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]]ขึ้นตำแหน่งแทนเขา สิบเดือนต่อมาหลังจากนั้น เขาถูกฆ่าตายตามคำสั่งของฮิตเลอร์ในช่วง[[คืนมีดยาว]]<ref>{{อ้างหนังสือ
ในช่วงเริ่มปี ค.ศ. 1932 เขาได้ทำหน้าที่เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสงครามในคณะรัฐมนตรี[[ฟรันทซ์ ฟ็อน พาเพิน]] ผู้ซึ่งได้สืบทอดเป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม ในช่วงระยะเวลาอันสั้นของเขา ชไลเชอร์ได้เจรจากับ[[เกรกอร์ ชตรัสเซอร์]]ในความเป็นไปได้ที่จะแยกตัวออกจาก[[พรรคนาซี]] แต่แผนการของพวกเขาล้มเหลว ชไลเชอร์ได้เสนอให้ประธานาธิบดีฮินเดินบวร์คทำการแบ่งแยกรัฐสภาไรชส์ทาคและปกครองแบบระบอบเผด็จการโดยพฤตินัย แนวทางของการปฏิบัติถูกฮินเดินบวร์คปฏิเสธ เมื่อวันที่ 28 มกราคม ค.ศ. 1933 การเผชิญหน้ากับความอ่อนแอทางการเมืองและสุขภาพที่ย่ำแย่ ชไลเชอร์ได้ลาออกและแนะนำให้แต่งตั้ง[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]]ขึ้นตำแหน่งแทนเขา สิบเจ็ดเดือนต่อมาหลังจากนั้น เขาถูกฆ่าตายตามคำสั่งของฮิตเลอร์ในช่วง[[คืนมีดยาว]]<ref>{{อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง=พายัพ โรจนวิภาค
|ผู้แต่ง=พายัพ โรจนวิภาค
|ชื่อหนังสือ=ยุคทมิฬ
|ชื่อหนังสือ=ยุคทมิฬ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:01, 24 ธันวาคม 2561

ควร์ท ฟ็อน ชไลเชอร์
นายกรัฐมนตรีแห่งเยอรมนี
ดำรงตำแหน่ง
3 ธันวาคม ค.ศ. 1932 – 28 มกราคม ค.ศ. 1933
ก่อนหน้าฟรันทซ์ ฟ็อน พาเพิน
ถัดไปอดอล์ฟ ฮิตเลอร์
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด7 เมษายน ค.ศ. 1882
บรันเดินบวร์คอันแดร์ฮาเฟิล ประเทศเยอรมนี
เสียชีวิต30 มิถุนายน ค.ศ. 1934 (52 ปี)

ควร์ท แฟร์ดีนันท์ ฟรีดริช แฮร์มัน ฟ็อน ชไลเชอร์ (เยอรมัน: Kurt Ferdinand Friedrich Hermann von Schleicher) เป็นนายพลเยอรมันและนายกรัฐมนตรีเยอรมันคนสุดท้ายในช่วงสาธารณรัฐไวมาร์ ผู้มีบทบาทที่สำคัญในความพยายามของกองทัพเยอรมันเพื่อหลีกเลี่ยงข้อจำกัดของสนธิสัญญาแวร์ซาย ชไลเชอร์ได้ก้าวขึ้นสู่อำนาจในฐานะที่ปรึกษาใกล้ชิดกับประธานาธิบดี เพาล์ ฟ็อน ฮินเดินบวร์ค ในปี ค.ศ. 1930 เขาได้กลายเป็นเครื่องมือในการโค่นล้มรัฐบาลแฮร์มัน มึลเลอร์ และแต่งตั้งให้ไฮน์ริช บรือนิง ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรี

ในช่วงเริ่มปี ค.ศ. 1932 เขาได้ทำหน้าที่เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสงครามในคณะรัฐมนตรีฟรันทซ์ ฟ็อน พาเพิน ผู้ซึ่งได้สืบทอดเป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม ในช่วงระยะเวลาอันสั้นของเขา ชไลเชอร์ได้เจรจากับเกรกอร์ ชตรัสเซอร์ในความเป็นไปได้ที่จะแยกตัวออกจากพรรคนาซี แต่แผนการของพวกเขาล้มเหลว ชไลเชอร์ได้เสนอให้ประธานาธิบดีฮินเดินบวร์คทำการแบ่งแยกรัฐสภาไรชส์ทาคและปกครองแบบระบอบเผด็จการโดยพฤตินัย แนวทางของการปฏิบัติถูกฮินเดินบวร์คปฏิเสธ เมื่อวันที่ 28 มกราคม ค.ศ. 1933 การเผชิญหน้ากับความอ่อนแอทางการเมืองและสุขภาพที่ย่ำแย่ ชไลเชอร์ได้ลาออกและแนะนำให้แต่งตั้งอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ขึ้นตำแหน่งแทนเขา สิบเจ็ดเดือนต่อมาหลังจากนั้น เขาถูกฆ่าตายตามคำสั่งของฮิตเลอร์ในช่วงคืนมีดยาว[1]

อ้างอิง

  1. พายัพ โรจนวิภาค. ยุคทมิฬ. นนทบุรี : ศรีปัญญา, 2554. 216 หน้า. หน้า 44. ISBN 978-616-7146-22-5