ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษรมองโกเลีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
New page: เมื่อพ.ศ. 1751 เจงกิสข่านรบชนะไนมันและนำอักษรอุยกูร์ ตาตาร์-ตอนกา ซึ...
 
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 4: บรรทัด 4:


อักษรนี้แยกสระและพยัญชนะออกจากกัน เขียนในแนวตั้งจากบนลงล่าง จากซ้ายไปขวา ซึ่งต่างจากอักษรที่เขียนในแนวตั้งอื่นๆที่มักจะเขียนจากขวาไปซ้าย อักษรมีรูปร่างต่างกันขึ้นกับตำแหน่างภายในคำ
อักษรนี้แยกสระและพยัญชนะออกจากกัน เขียนในแนวตั้งจากบนลงล่าง จากซ้ายไปขวา ซึ่งต่างจากอักษรที่เขียนในแนวตั้งอื่นๆที่มักจะเขียนจากขวาไปซ้าย อักษรมีรูปร่างต่างกันขึ้นกับตำแหน่างภายในคำ
==อ้างอิง==
==แหล่งข้อมูลภายนอก==
* {{en icon}} [http://www.omniglot.com/writing/mongolian.htm อักษรมองโกเลีย]
* {{en icon}} [http://www.omniglot.com/writing/mongolian.htm อักษรมองโกเลีย]

{{อักษรตะวันตก}}
[[หมวดหมู่:อักษร|มองโกเลีย ]]
[[หมวดหมู่:อักษร|มองโกเลีย ]]
[[en:Mongolian script]]
[[en:Mongolian script]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:31, 29 ตุลาคม 2550

เมื่อพ.ศ. 1751 เจงกิสข่านรบชนะไนมันและนำอักษรอุยกูร์ ตาตาร์-ตอนกา ซึ่งต่อมาพัฒนาเป็นอักษรอุยกูร์ มาเขียนภาษามองโกเลีย อักษรอุยกูร์เหล่านี้มาจากอักษรซอกเดีย ที่มาจากอักษรอราเมอิกอีกต่อหนึ่ง

ระหว่างพ.ศ. 1800 – 2000 ภาษามองโกเลียเขียนด้วยอักษรจีน อักษรอาหรับและอักษรพัก-ปา ในช่วงที่ได้รับอิทธิพลจากสหภาพโซเวียต ภาษามองโกเลียเขียนด้วยอักษรละตินเมื่อ พ.ศ. 2474 และใช้อักษรซีริลลิกเมื่อ พ.ศ. 2480 ใน พ.ศ. 2484 รัฐบาลออกกฎหมายล้มเลิกอักษรมองโกเลีย แต่ได้มีการฟื้นฟูอักษรดังกล่าวอีกเมื่อ พ.ศ. 2537 ปัจจุบันมีการสอนการใช้อักษรนี้ในโรงเรียน ประชาชนราวครึ่งหนึ่งในมองโกเลียรู้อักษรนี้นิดหน่อยหรือไม่รู้เลย ส่วนใหญ่จะอ่านได้เฉพาะอักษรซีริลลิก อักษรมองโกเลียนี้ยังใช้อยู่ในเขตปกครองตนเองมองโกเลียใน ในประเทศจีน

อักษรนี้แยกสระและพยัญชนะออกจากกัน เขียนในแนวตั้งจากบนลงล่าง จากซ้ายไปขวา ซึ่งต่างจากอักษรที่เขียนในแนวตั้งอื่นๆที่มักจะเขียนจากขวาไปซ้าย อักษรมีรูปร่างต่างกันขึ้นกับตำแหน่างภายในคำ

อ้างอิง