ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาสนวิหารอัสสัมชัญ"

พิกัด: 13°43′23″N 100°30′55″E / 13.723166°N 100.515157°E / 13.723166; 100.515157
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wakorinda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 47: บรรทัด 47:


โบสถ์อัสสัมชัญสร้างขึ้นเพื่อเป็นการถวายแด่การที่[[แม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์|พระแม่มารีย์ถูกรับขึ้นสวรรค์]] อาคารแล้วเสร็จในปี [[พ.ศ. 2365]]<ref>ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ และคณะ, [http://www.komchadluek.net/detail/20110823/106918/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%8D.html อาสนวิหารอัสสัมชัญ : พันเรื่องถิ่นแผ่นดินไทย] คมชัดลึก</ref> และได้รับสถาปนาเป็นอาสนวิหารอัสสัมชัญ ในปีถัดมา ตั้งแต่นั้นมา อัสสัมชัญได้เป็นที่พำนักของบรรดา[[มุขนายก]]ผู้เป็นประมุข[[มิสซังสยาม]]ในสมัยนั้น ทั่วบริเวณดังกล่าวเป็นชานเมืองกรุงเทพฯ และครอบครัว[[คริสต์ศาสนิกชน]]ซึ่งค่อยๆโยกย้ายมาตั้ง บ้านเรือนอยู่ข้าง ๆ โบสถ์ จนถึงปี [[พ.ศ. 2407]] เมื่อเมืองได้ขยายไปจนถึงบริเวณดังกล่าวและจำนวนคริสตังได้เพิ่มขึ้น จึงจำเป็นต้องตั้งบริเวณนั้นให้เป็น[[คริสต์ศาสนิกชน]] ดังนั้นในปี [[พ.ศ. 2407]] พระคุณเจ้าดูว์ปงจึงตั้งอัสสัมชัญเป็นกลุ่ม คริสตชนอย่างเป็นทางการ คุณพ่อ[[ฟรังซัว ยอเซฟ ชมิตต์]]เป็น[[อธิการโบสถ์]]องค์แรก
โบสถ์อัสสัมชัญสร้างขึ้นเพื่อเป็นการถวายแด่การที่[[แม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์|พระแม่มารีย์ถูกรับขึ้นสวรรค์]] อาคารแล้วเสร็จในปี [[พ.ศ. 2365]]<ref>ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ และคณะ, [http://www.komchadluek.net/detail/20110823/106918/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%8D.html อาสนวิหารอัสสัมชัญ : พันเรื่องถิ่นแผ่นดินไทย] คมชัดลึก</ref> และได้รับสถาปนาเป็นอาสนวิหารอัสสัมชัญ ในปีถัดมา ตั้งแต่นั้นมา อัสสัมชัญได้เป็นที่พำนักของบรรดา[[มุขนายก]]ผู้เป็นประมุข[[มิสซังสยาม]]ในสมัยนั้น ทั่วบริเวณดังกล่าวเป็นชานเมืองกรุงเทพฯ และครอบครัว[[คริสต์ศาสนิกชน]]ซึ่งค่อยๆโยกย้ายมาตั้ง บ้านเรือนอยู่ข้าง ๆ โบสถ์ จนถึงปี [[พ.ศ. 2407]] เมื่อเมืองได้ขยายไปจนถึงบริเวณดังกล่าวและจำนวนคริสตังได้เพิ่มขึ้น จึงจำเป็นต้องตั้งบริเวณนั้นให้เป็น[[คริสต์ศาสนิกชน]] ดังนั้นในปี [[พ.ศ. 2407]] พระคุณเจ้าดูว์ปงจึงตั้งอัสสัมชัญเป็นกลุ่ม คริสตชนอย่างเป็นทางการ คุณพ่อ[[ฟรังซัว ยอเซฟ ชมิตต์]]เป็น[[อธิการโบสถ์]]องค์แรก
[[File:Mary of Assumption Bangkok.jpg|thumb|ภายในอาสนวิหารอัสสัมชัญ]]

ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2485]] ได้เกิดสงคราม เครื่องบินทิ้งระเบิดในบริเวณโบสถ์อัสสัมชัญ ทั้งระเบิดทำลายและระเบิดเชื้อเพลิง อาคารต่างๆ รอบโบสถ์ได้รับความเสียหายอย่างมาก หมู่บ้านคริสตังก็ถูกเผาทำลายหมด อาสนวิหารด้านซ้ายได้ถูกระเบิดทำให้ได้รับความเสียหายมาก ทั้งกำแพง ประตูหน้าต่าง ประจก คุณพ่อแปรูดงต้องซ่อมแซมหมดทุกอย่าง
ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2485]] ได้เกิดสงคราม เครื่องบินทิ้งระเบิดในบริเวณโบสถ์อัสสัมชัญ ทั้งระเบิดทำลายและระเบิดเชื้อเพลิง อาคารต่างๆ รอบโบสถ์ได้รับความเสียหายอย่างมาก หมู่บ้านคริสตังก็ถูกเผาทำลายหมด อาสนวิหารด้านซ้ายได้ถูกระเบิดทำให้ได้รับความเสียหายมาก ทั้งกำแพง ประตูหน้าต่าง ประจก คุณพ่อแปรูดงต้องซ่อมแซมหมดทุกอย่าง



รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:08, 21 พฤศจิกายน 2561

อาสนวิหารอัสสัมชัญ
Assumption Cathedral
บริเวณด้านหน้าอาสนวิหารแผนที่
แผนที่
ที่ตั้ง23 ซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง แขวงบางรัก เขตบางรัก
ประเทศไทย ประเทศไทย
นิกายโรมันคาทอลิก
เว็บไซต์assumption-cathedral.com/
สถานะอาสนวิหาร
ผู้ก่อตั้งมิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ
เหตุการณ์เป็นหนึ่งในอาสนวิหารที่สวยที่สุดในประเทศไทย
สถาปนิกคุณพ่อปาสกัล
รูปแบบสถาปัตย์เรเนซองส์[2][3]
ปีสร้างพ.ศ. 2237[1]
ความสูงอาคาร32 เมตร

อาสนวิหารอัสสัมชัญ กรุงเทพฯ หรือโบสถ์อัสสัมชัญ (อังกฤษ: Assumption Cathedral) เป็นอาสนวิหารประจำมิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ และ 3 โรงเรียนได้แก่ โรงเรียนอัสสัมชัญ โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ และโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา ตั้งอยู่ที่เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร วิหารสร้างขึ้นครั้งแรกในรูปแบบทรงไทยโดยบาทหลวงปาสกัล ซึ่งเป็นชาวไทย-โปรตุเกส[4] โบสถ์หลังปัจจุบันนี้ถูกสร้างขึ้นใหม่ในปี พ.ศ. 2452 โดยคุณพ่อกอลมเบต์ เจ้าอาวาสวัดชาวฝรั่งเศสในขณะนั้น[5] เพื่อรองรับการขยายตัวของคริสต์ศาสนิกชนที่มีเพิ่มมากขึ้น โดยมีสถาปนิกชาวฝรั่งเศสเป็นผู้ออกแบบและควบคุมการก่อสร้าง โดยมีวัสดุก่อสร้างเช่นหินอ่อนและกระจกสี ซึ่งสั่งมาจากประเทศฝรั่งเศส สิงคโปร์และอิตาลี

วิหารได้รับการออกแบบในรูปของงานสถาปัตยกรรมเรเนซองส์ มีความสูงของหอระฆังตั้งแต่ยอดหอคอยจดพื้น 32 เมตรด้วยกัน ส่วนด้านในผนังและเพดานก็ตกแต่งด้วยจิตรกรรมแบบเฟรสโกและประติมากรรมปูนปั้นที่แสดงถึงเรื่องราวความเชื่อของทางศาสนาคริสต์ ปัจจุบันวิหารมีอายุเก่าแก่อายุกว่า 115 ปี เป็นหนึ่งในอาสนวิหารที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทยและยังได้การยกย่องให้เป็นหนึ่งในอาสหวิหารที่สวยที่สุดในไทยอีกด้วย[6][7]

ประวัติ

โบสถ์อัสสัมชัญถูกสร้างขึ้นครั้งแรกในราวปี พ.ศ. 2352 โดยบาทหลวงปาสกัล[8]

โบสถ์อัสสัมชัญสร้างขึ้นเพื่อเป็นการถวายแด่การที่พระแม่มารีย์ถูกรับขึ้นสวรรค์ อาคารแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2365[9] และได้รับสถาปนาเป็นอาสนวิหารอัสสัมชัญ ในปีถัดมา ตั้งแต่นั้นมา อัสสัมชัญได้เป็นที่พำนักของบรรดามุขนายกผู้เป็นประมุขมิสซังสยามในสมัยนั้น ทั่วบริเวณดังกล่าวเป็นชานเมืองกรุงเทพฯ และครอบครัวคริสต์ศาสนิกชนซึ่งค่อยๆโยกย้ายมาตั้ง บ้านเรือนอยู่ข้าง ๆ โบสถ์ จนถึงปี พ.ศ. 2407 เมื่อเมืองได้ขยายไปจนถึงบริเวณดังกล่าวและจำนวนคริสตังได้เพิ่มขึ้น จึงจำเป็นต้องตั้งบริเวณนั้นให้เป็นคริสต์ศาสนิกชน ดังนั้นในปี พ.ศ. 2407 พระคุณเจ้าดูว์ปงจึงตั้งอัสสัมชัญเป็นกลุ่ม คริสตชนอย่างเป็นทางการ คุณพ่อฟรังซัว ยอเซฟ ชมิตต์เป็นอธิการโบสถ์องค์แรก

ภายในอาสนวิหารอัสสัมชัญ

ต่อมาในปี พ.ศ. 2485 ได้เกิดสงคราม เครื่องบินทิ้งระเบิดในบริเวณโบสถ์อัสสัมชัญ ทั้งระเบิดทำลายและระเบิดเชื้อเพลิง อาคารต่างๆ รอบโบสถ์ได้รับความเสียหายอย่างมาก หมู่บ้านคริสตังก็ถูกเผาทำลายหมด อาสนวิหารด้านซ้ายได้ถูกระเบิดทำให้ได้รับความเสียหายมาก ทั้งกำแพง ประตูหน้าต่าง ประจก คุณพ่อแปรูดงต้องซ่อมแซมหมดทุกอย่าง

ในปี พ.ศ. 2527 สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 ได้เสด็จเยือนประเทศไทย พระคาร์ดินัลไมเกิ้ล มีชัย กิจบุญชู ได้ถือเป็นเกียรติเชิญสมเด็จพระสันตะปาปาเสด็จมาเยี่ยมเยือนอาสนวิหารอัสสัมชัญ และอวยพระพรแก่บรรดาบาทหลวง นักบวชชายหญิงทุกคณะ พร้อมด้วยบรรดาคริสตังที่มาเฝ้ารับเสด็จอย่างเนืองแน่น ระหว่างปี พ.ศ. 2526-2532 คูณพ่อชุมภา คูรัตน์ เห็นว่าภายในอาสนวิหารอัสสัมชัญจำเป็นต้องได้รับการตกแต่งเสียใหม่ จึงได้ทำการตกแต่งและซ่อมแซมอาสนวิหารในเวลาเดียวกัน พร้อมทั้งได้จัดทำพระแท่นบูชาและพื้นที่บริเวณพระแท่นเสียใหม่ และได้รับการยกย่องให้เป็นอาสนวิหารที่มีความงดงามที่สุดในประเทศไทย

อ้างอิง

  1. ประวัติความเป็นมา อาสนวิหารพระนางมารีอาปฏิสนธินิรมล จันทบุรี, ที่เที่ยวไทย .สืบค้นเมื่อ 05/06/2559
  2. สถาปัตยกรรมมหาวิหาร
  3. 3.0 3.1 สถาปัตยกรรม อาสนวิหารอัสสัมชัญ, assumptioncathedral.catholic.or.th/ .สืบค้นเมื่อ 13/06/2559
  4. สถาปัตยกรรมอาสนวิหารอัสสัมชัญ, assumption-cathedral.com .สืบค้นเมื่อ 13/06/2559
  5. ประวัติอาสนวิหารอัสสัมชัญ, catholic.or.th/ .สืบค้นเมื่อ 13/06/2559
  6. 9 โบสถ์คริสต์สุดงาม ในเมืองไทย!, ไปไหนดี .วันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2557
  7. ชม 5 โบสถ์คริสต์ งามวิจิตรตระการตา, ผู้จัดการออนไลน์ .วันที่ 23 ธันวาคม 2551
  8. หนุ่มลูกทุ่ง, สุขสันต์วันเกิด ครบ 100 ปี "บางรัก" โดย ผู้จัดการออนไลน์ 12 มิถุนายน 2550 16:50 น.
  9. ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ และคณะ, อาสนวิหารอัสสัมชัญ : พันเรื่องถิ่นแผ่นดินไทย คมชัดลึก

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

13°43′23″N 100°30′55″E / 13.723166°N 100.515157°E / 13.723166; 100.515157