ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความกดอากาศ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 223.24.172.44 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย 124.122.44.111
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
เพิ่มคำว่า "จุด" เข้าไป
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
'ความดันบรรยากาศ''ความกดอากาศ''', '''ความดันอากาศ'''หรือ''เป็น [[ความกดดัน]]อยู่จุดใดหนึ่งของ[[ชั้นบรรยากาศ]]ของโลก โดยทั่วไปความกดอากาศจะประมาณเท่ากับความกดดันที่เกิดขึ้นย้อนน้ำหนักของอากาศอยู่บนจุดนั้น ๆ ซึ่งหมายความว่า จุดที่มี[[ความกดอากาศต่ำ]]จะมีอากาศที่มีมวลสารต่ำกว่าจะอยู่ข้างบนนั้น ด้วยเหตุผลแบบเดียวกัน ความกดอากาศจะต่ำลงเมื่อระดับความสูงเพิ่มขึ้น ความกดอากาศที่ความสูง[[ระดับน้ำทะเล]] จะเท่ากับ 1 atm (หนึ่งหน่วยบรรยากาศ) นั่นก็คือ 760 mmHg (มิลลิเมตรปรอท)นั่นเอง
'ความดันบรรยากาศ''ความกดอากาศ''', '''ความดันอากาศ'''หรือ''เป็น [[ความกดดัน]]อยู่จุดใดจุดหนึ่งของ[[ชั้นบรรยากาศ]]ของโลก โดยทั่วไปความกดอากาศจะประมาณเท่ากับความกดดันที่เกิดขึ้นย้อนน้ำหนักของอากาศอยู่บนจุดนั้น ๆ ซึ่งหมายความว่า จุดที่มี[[ความกดอากาศต่ำ]]จะมีอากาศที่มีมวลสารต่ำกว่าจะอยู่ข้างบนนั้น ด้วยเหตุผลแบบเดียวกัน ความกดอากาศจะต่ำลงเมื่อระดับความสูงเพิ่มขึ้น ความกดอากาศที่ความสูง[[ระดับน้ำทะเล]] จะเท่ากับ 1 atm (หนึ่งหน่วยบรรยากาศ) นั่นก็คือ 760 mmHg (มิลลิเมตรปรอท)นั่นเอง


== ความกดอากาศมาตรฐาน ==
== ความกดอากาศมาตรฐาน ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:31, 26 ตุลาคม 2561

'ความดันบรรยากาศความกดอากาศ, ความดันอากาศหรือเป็น ความกดดันอยู่จุดใดจุดหนึ่งของชั้นบรรยากาศของโลก โดยทั่วไปความกดอากาศจะประมาณเท่ากับความกดดันที่เกิดขึ้นย้อนน้ำหนักของอากาศอยู่บนจุดนั้น ๆ ซึ่งหมายความว่า จุดที่มีความกดอากาศต่ำจะมีอากาศที่มีมวลสารต่ำกว่าจะอยู่ข้างบนนั้น ด้วยเหตุผลแบบเดียวกัน ความกดอากาศจะต่ำลงเมื่อระดับความสูงเพิ่มขึ้น ความกดอากาศที่ความสูงระดับน้ำทะเล จะเท่ากับ 1 atm (หนึ่งหน่วยบรรยากาศ) นั่นก็คือ 760 mmHg (มิลลิเมตรปรอท)นั่นเอง

ความกดอากาศมาตรฐาน

มีสถานะเป็นก๊าซ แต่อากาศก็มีน้ำหนักเช่นเดียวกับของแข็งและของเหลว เราเรียกน้ำหนักซึ่งกดทับกันลงมานี้ว่า “ความกดอากาศ” (Air pressure) ความกดอากาศจะมีความแตกต่างกับแรงที่เกิดจาก “L” สีแดง เป็นสัญลักษณ์ นักอุตุนิยมวิทยาใช้เครื่องมือ ชื่อว่า"บารอมิเตอร์" อย่างละเอียดสำหรับวัดความกดอากาศ หน่วยที่ใช้วัดความกดของอากาศนั้นอาจจะเป็นความสูงของปรอทเป็นนิ้วหรือเซนติเมตร ปอนด์ต่อตารางนิ้ว หรือกิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตรก็ได้ แต่ในปัจจุบันส่วนมากนิยมใช้หน่วยเป็นมิลลิบาร์ (millibar) เพราะเป็นหน่วยที่สะดวกกว่า ซึ่งเราจะเปรียบเทียบกันได้ตามหลักการคำนวณต่อไปนี้

ความกดอากาศตามความสูง

ขวดพลาสติกนี้ถูกปิดฝา ตอนอยู่ที่ระดับความสูงประมาณ 2,000 เมตร และเมื่อถูกนำลงมายังระดับน้ำทะเล มันจะถูกบีบอัดโดยความกดอากาศที่สูงกว่า
เศษส่วนของ 1 atm ความสูงโดยเฉลี่ย
(เมตร) (ฟุต)
1 0 0
1/2 5,486 18,000
1/5 8,376 27,480
1/10 16,132 52,926
1/100 30,901 101,381
1/1000 48,467 159,013
1/10000 69,464 227,899
1/100000 96,282 283,076